Page 25 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 25

15   ชุดดินเขมราฐ (Khemarat series: Kmr)



                                 กลุมชุดดินที่  17hid3c
                                 การจําแนกดิน  Fine-loamy over clayey, kaolinitic, isohyperthermic Plinthaquic Haplustults

                                 การกําเนิด    เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมอยูบนหินตะกอนเนื้อละเอียด

                                               พบบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผนดิน
                                 สภาพพื้นที่   ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 2-5 %

                                 การระบายน้ํา                ดีปานกลางในดินบนและคอนขางเลวในดินลาง

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ปานกลาง
                                 การซึมผานไดของน้ํา        ปานกลาง

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ บางสวนถูกแผวถางและใช
                                               ปลูกขาว

                                 การแพรกระจาย        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                 การจัดเรียงชั้น      Ap-Btv-2Btgv-2C

                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึก  ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย  สีน้ําตาล

                                 หรือสีน้ําตาลเขม  ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย  สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลออน  และเปนดินเหนียว
                                 หรือดินเหนียวปนทรายแปง  สีเทาปนชมพูหรือสีเทาในดินลางลึกลงไป  ชวงเปลี่ยนระหวางดินรวน

               เหนียวปนทรายเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปงจะเปลี่ยนโดยทันที ภายในความลึก 100 ซม จากผิวดิน มักพบจุด
               ประสีแดงและศิลาแลงออนภายใน 150 ซม จากผิวดิน จะพบชั้นหินผุและหินพื้น (weathering siltstone และ siltstone) ที่

               ระหวางความลึก 100-150 ซม. ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.0-6.5) ในดินบนและเปนกรดจัดมาก
               (pH 4.5-5.0) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน        ชุดดินบุณฑริก
               ขอจํากัดการใชประโยชน      ความอุดมสมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการขาดแคลนน้ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ควรใสปุยคอก  ปุยหมัก  และปุยเคมี  เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน  ควรจัดหา
               แหลงน้ําใหเพียงพอสําหรับการเพาะปลูก









                                                                                                              17
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30