Page 23 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 23

13  ชุดดินคําบง (Khambong series: Kg)



                                กลุมชุดดินที่  41
                                 การจําแนกดิน  Sandy, siliceous, isohyperthermic Typic Haplustalfs

                                 การกําเนิด    เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว

                                                     แผนดิน
                                สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 2-5 %

                                การระบายน้ํา                 ดีปานกลาง

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ปานกลาง
                                 การซึมผานไดของน้ํา        ปานกลาง

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน  ปาเต็งรังและปาเบญจพรรณ บางสวนถูกแผวถางและ
                                                       ใชปลูกพืชไร เชน มันสําปะหลัง ขาวโพด ปอ ถั่วตางๆ และออย

                                 การแพรกระจาย        พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                 การจัดเรียงชั้น      A-E-Bt-C

                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินรวนปนทราย  สีน้ําตาลเขม  ดินลางเปนดิน

                                ทรายปนดินรวนและเปลี่ยนเปนดินรวนเหนียวปนทรายในดินลางลึกลงไป มีสีน้ําตาล ซึ่งเปนชั้นสะสม
                                อนุภาคดินเหนียวและอาจพบจุดประสีในดินลาง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH

               6.0-7.0) ในดินบนและเปนกรดจัดถึงเปนดางปานกลาง (pH 5.5-8.0) ในดินลาง

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ

                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง       ปานกลาง           ต่ํา          ต่ํา
                 25-50         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           สูง            ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน          ชุดดินดานขุนทด
               ขอจํากัดในการใชประโยชน      ดินเปนทรายจัด ความสามารถในการอุมน้ําต่ํา ธาตุอาหารพืชในดินถูกชะลางไดงาย

               เสี่ยงตอความเสียหายจากการขาดแคลนน้ําในชวงฤดูเพาะปลูก
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปลูกพืชไร  ควรปรับปรุงบํารุงดินโดยการใสปุยอินทรียพวกปุยคอก  ปุยหมัก และปุย

               พืชสด  เพื่อปรับปรุงสมบัติของดินทั้งทางกายภาพและทางเคมี  โดยจะชวยใหดินมีความสามารถในการอุมน้ําไวไดดีขึ้น

               สามารถดูดซับธาตุอาหารในดินไดดีขึ้น ไมถูกชะลางไปกับน้ําไดงาย นอกจากนี้แลวควรใสปุยเคมีควบคูกันไปดวย เพื่อชวย
               เพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดินและทําใหดินมีความอุดมสมบูรณดีขึ้น









                                                                                                              15
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28