Page 15 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 15

5     ชุดดินโชคชัย (Chok Chai series: Ci)



                                กลุมชุดดินที่  29
                                การจําแนกดิน  Very fine, kaolinitic, isohyperthermic Rhodic Kandiustox

                                การกําเนิด     เกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับที่ และ/หรือ เศษหินเชิงเขาของหินบะซอลต พบบน

                                                     พื้นผิวเหลือจากการกรอนซอยแบง
                                สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %

                                การระบายน้ํา                 ดี

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลางถึงเร็ว
                                การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง

                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน  ปาเบญจพรรณ บางสวนถูกถางเพื่อปลูกพืชไรและไมผล
                                การแพรกระจาย         ตอนลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                การจัดเรียงชั้น       A-Bt
                                ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินเหนียวปนทรายแปงหรือดินเหนียว  สีน้ําตาล

                                ปนแดงเขมมาก  ดินลางเปนดินเหนียว  สีแดงหมนหรือสีแดงหมนเขมมาก  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปาน

                                กลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบนและเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ในดินลาง

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25      ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน          ชุดดินปากชอง
               ขอจํากัดการใชประโยชน        ความอุดมสมบูรณต่ํา พืชอาจขาดน้ําในชวงฤดูเพาะปลูก

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปลูกพืชไรหรือไมผล ควรจัดหาแหลงน้ําในพื้นที่ของการเพาะปลูกใหเพียงพอ โดย
               การขุดสระเพื่อกักเก็บน้ําเอาไวใชเมื่อพืชตองการ ใสปุยคอก ปุยหมัก และปุยเคมีเพื่อเพิ่มแรธาตุที่จําเปนแกพืช เพื่อเปนการ

               เพิ่มผลผลิตและทําใหสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น



















                                                                                                                7
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20