Page 18 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 18
8 ชุดดินจักราช (Chakkarat Series: Ckr)
กลุมชุดดินที่ 40
การจําแนกดิน Coarse-loamy, mixed subactive isohyperthermic Oxyaquic Paleustults
การกําเนิดดิน เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว
แผนดิน
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 0-5 %
การระบายน้ํา ดีปานกลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลาง
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง ปลูกปอ ฝาย แตงโม และมันสําปะหลัง
การแพรกระจาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น A-(E)-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน มีสี
น้ําตาล ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายในตอนบนและอาจพบดินรวนเหนียวปนทรายในตอนลาง มี
สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง จะพบจุดประสีน้ําตาลแกหรือแดงปนเหลืองตลอดหนาตัดดิน ปฏิกิริยา
ดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ในดินบนและเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินหวยแถลง
ขอจํากัดในการใชประโยชน เนื้อดินคอนขางเปนทราย มีความอุดมสมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการขาดแคลนน้ําสําหรับ
พืชในฤดูเพาะปลูกและเสี่ยงตอการชะลางพังทลาย
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน โดยทั่วไปเหมาะสมปานกลางสําหรับปลูกพืชไร แตควรมีวิธีการจัดการที่เหมาะสม
เพื่อปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน ปองกันการขาดน้ําและการชะลางพังทลาย การเลือกระยะเวลาปลูกพืชที่เหมาะสม
การไถพรวนแตนอยและการปลูกพืชแบบสลับ (intercropping) เปนตัวอยางที่ควรจะกระทํา การจัดหาแหลงน้ําโดยการ
ขุดสระ ใชปุยคอก ปุยหมัก และปุยเคมี เพื่อเพิ่มแรธาตุตางๆ ใหแกดินและเพิ่มสมบัติทางกายภาพของดิน
10