Page 19 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 19

9    ชุดดินจตุรัส (Chatturat series: Ct)



                                  กลุมชุดดินที่  55

                                  การจําแนกดิน  Fine, mixed, active isohyperthermic Typic Haplustalfs
                                  การกําเนิด    เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหินตะกอนเนื้อละเอียดที่มีเนื้อปูนปน เชน

                                                       หินดินดานและหินทรายแปงที่มีแคลเซียมคารบอเนตเปนองคประกอบสูง
                                  สภาพพื้นที่   คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 1-5 %
                                  การระบายน้ํา                 ดี

                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชาถึงปานกลาง

                                  การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเบญจพรรณ ปลูกพืชไร เชน มันสําปะหลัง กลวย

                                                      ขาวโพดหรือทุงหญาเลี้ยงสัตว
                                  การแพรกระจาย        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลาง

                                  การจัดเรียงชั้น      A-Bt-Cr
                                  ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้น  ดินบนเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง  สี

                                  น้ําตาลปนแดง  ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง  สีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดง ในชวง
                                  ความลึก 50-100 ซม. จะพบชั้นหินผุ ถัดจากชั้นหินผุเปนชั้นหินแข็งซึ่งเปนหินพื้น ปฏิกิริยาดินเปนกรด

               เล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0) ในดินบนและเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.0-8.0) ในดินลาง

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25         ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                 25-50         ต่ํา          สูง            สูง         ปานกลาง           สูง         ปานกลาง

                 50-100        ต่ํา          สูง            สูง            สูง            สูง           สูง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน        ชุดดินวังสะพุง
               ขอจํากัดในการใชประโยชน    สมบัติทางกายภาพของดินไมดี ดินคอนขางแนนทึบ โครงสรางไมเหมาะสม น้ําซึมผาน

               ไดชา อาจขาดแคลนน้ําไดในชวงฤดูเพาะปลูก
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปลูกพืชไร ไมยืนตน ควรปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน เชน การปรับปรุง

               โครงสรางของดิน โดยการไถพรวนที่เหมาะสม เพิ่มอินทรียวัตถุ เนื่องจากสภาพพื้นที่ที่พบดินนี้สวนใหญอยูในเขตแหงแลง
               ดังนั้นการกําหนดระยะเวลาและชนิดของพืชที่ปลูก ควรทําอยางรอบคอบ เพื่อหลีกเลี่ยงการขาดแคลนน้ํา ปลูกพืชคลุมดิน

               เพื่อรักษาความชื้นในดินและปองกันการชะลางพังทลายของดิน ปลูกพืชบํารุงดินและปลูกพืชหมุนเวียน










                                                                                                              11
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24