Page 12 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 12
2 ชุดดินบานไผ (Ban Phai Series: Bpi)
กลุมชุดดินที่ 41
การจําแนกดิน loamy, siliceous, isohyperthermic Arenic Paleustalfs
การกําเนิด เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมอยูบนพื้นผิวของการ
เกลี่ยผิวแผนดิน
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %
การระบายน้ํา ดี
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน เร็วในดินบนและชาในดินลาง
การซึมผานไดของน้ํา เร็วถึงปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปลูกพืชไรและไมผล
การแพรกระจาย พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น Ap-E-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินทราย สีน้ําตาล
ออน ถัดลงไปเปนดินทรายปนดินรวน สีเทาปนชมพู ดินลางเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน
เหนียวปนทราย สีน้ําตาลแกหรือน้ําตาลปนเหลือง มีจุดประสีแดงปนเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดิน
เปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ตลอด
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกันชุดดิน ชุดดินมหาสารคาม
ขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา มีเนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวนถึงดินรวนปนทราย
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพิ่มอินทรียวัตถุเพื่อปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินใหดีขึ้น ปลูกพืชทนแลง เชน
ออยและมันสําปะหลัง
4