Page 11 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 11
1 ชุดดินบรบือ (Borabu series: Bb)
กลุมชุดดินที่ 49
การจําแนกดิน Loamy over loamy-skeletal, mixed, semiactive, isohyperthermic
Plinthaquic Haplustults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมอยูบนหินตะกอนเนื้อ
ละเอียด พบบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผนดิน
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %
การระบายน้ํา ดีปานกลางและคอนขางเลวในดินลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน เร็วถึงปานกลาง
การซึมผานไดของน้ํา เร็วในดินบนและชาในดินลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเต็งรัง ยูคาลิปตัส และมันสําปะหลัง
การแพรกระจาย พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น A-E-Btcv-2C
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกปานกลางกอนกรวด ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินรวน
ปนทราย สีน้ําตาลปนเทา ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินเหนียวปนกอนกรวด สีน้ําตาล
ออนหรือสีเทาปนน้ําตาลออน มีจุดประสีน้ําตาลแกและพบศิลาแลงออน (plinthite) ภายในความลึก
75 ซม. พบพวกลูกรังและเศษหินทรายที่กําลังสลายตัวในระดับความลึก 50-100 ซม. ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปาน
กลาง (pH 5.5-6.0) ในดินบนและเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินเขมราฐ
ขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา เนื้อดินคอนเปนทราย
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเพิ่มความอุดม
สมบูรณของดิน
3