Page 20 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 20

10   ชุดดินจันทึก (Chan Tuk series: Cu)



                                กลุมชุดดินที่  44
                                การจําแนกดิน  Sandy, siliceous, isohyperthermic, coated Typic Ustipsamments

                                การกําเนิด     เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ของหินแกรนิต บนบริเวณพื้นผิวเหลือจาก

                                                           การกรอนซอยแบง
                                สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 2-5 %

                                การระบายน้ํา                 คอนขางมาก

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลาง
                                การซึมผานไดของน้ํา         เร็ว

                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน  ปาเต็งรัง ทุงหญา บางแหงนําไปใชเปนวัสดุสรางทาง
                                การแพรกระจาย         ภาคเหนือและดานตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                การจัดเรียงชั้น       A-C
                                ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึก  เนื้อดินเปนดินทรายปนดินรวนตลอด  อาจพบกอนกรวดปะปน

                                ในดินลาง  ดินบนเปนสีน้ําตาลปนเทา  ดินลางเปนสีเทาปนชมพูหรือสีน้ําตาลออน  กรวดที่พบเปนแร

                                ควอตซและเฟลดสปาร  อาจพบจุดประสีในชั้นหินตนกําเนิดที่กําลังสลายตัว  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปาน
                                กลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบนและเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100        ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน        ชุดดินดานขุนทด

               ขอจํากัดการใชประโยชน      ความอุดมสมบูรณต่ํา เนื้อดินเปนทราย โครงสรางของดินเลว
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ควรจะสงวนไวเปนปาธรรมชาติ ถาหากมีความจําเปนที่จะตองนํามาใชในดาน

               การเกษตร ควรจัดหาแหลงน้ําใหเพียงพอในชวงฤดูเพาะปลูกและควรมีการปรับปรุงบํารุงดินโดยใช ปุยคอก ปุยหมัก และ
               ปุยเคมี เพื่อเพิ่มแรธาตุแกพืชและทําใหสมบัติของดินดีขึ้น

















                                                                                                              12
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25