Page 16 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 16

6    ชุดดินชุมพวง (Chum Phuang series: Cpg)



                                กลุมชุดดินที่  40
                                การจําแนกดิน  Coarse-loamy, siliceous, isohyperthermic Typic Kandiustults

                                การกําเนิด     เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว

                                                      แผนดิน
                                สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %

                                การระบายน้ํา                 คอนขางมาก

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลาง
                                การซึมผานไดของน้ํา         เร็ว

                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง ปลูกพืชไร เชน มันสําปะหลัง ปอ ฝาย
                                               และไมผลบางชนิด เชน มะมวง

                                การแพรกระจาย         ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                การจัดเรียงชั้น       A-(E)-Bt

                                ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก  ดินบนเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน

                                สีน้ําตาลปนแดง  ดินลางตอนบนเปนดินรวนปนทรายและเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปน
                                ทรายในดินลางตอนลาง  สีแดงหรือสีแดงเขม  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH 5.5-7.0)  ใน

               ดินบนและเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ

                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 25-50         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100        ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน          ชุดดินยโสธร
               ขอจํากัดการใชประโยชน        ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา  คอนขางเปนทราย  อาจขาดน้ําในชวงของฤดู

               การเพาะปลูกทําใหเกิดการชะงักงันของการเจริญเติบโตของพืช
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ควรมีการจัดการดินที่ดีและปรับปรุงดิน โดยใชปุยเคมี ปุยคอก และปุยหมัก ใสเพื่อ

               เพิ่มแรธาตุตางๆ ที่พืชตองการใหแกดิน ทําใหสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น จัดหาแหลงน้ําในพื้นที่ใหพอเพียง














                                                                                                                8
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21