Page 10 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 10

2. วัตถุประสงค


                        2.1 เพื่อจัดทําขอมูลชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศฉบับภาษาไทย
                        2.2  ปรับปรุงการจําแนกดินและคําอธิบายดินใหถูกตองและสอดคลองกับระบบอนุกรมวิธานดิน ป

                             ค.ศ. 2003

                        2.3 เพื่อวิเคราะหปญหาการใชที่ดินเพื่อการเพาะปลูก และเสนอแนวทางการแกไขปญหาการ

                             ปรับปรุงและบํารุงดินที่เหมาะสมสําหรับชุดดินนั้นๆ


                 3. อุปกรณและวิธีการ


                        3.1 อุปกรณ

                           1. เอกสารวิชาการฉบับที่ 522 เรื่องการกําหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                 ของประเทศไทยจําแนกใหมตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2546  (กิติ  อนุกูล  และขนิษฐศรี, 2547)

                           2. ผลวิเคราะหดินของชุดดินตางๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
                           3. รูปภาพหนาตัดของชุดดินตางๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ

                           4. Keys to Soil Taxonomy (Soil Survey Staff, 2003) ซึ่งเปนคูมือการการจําแนกดินระบบ

                 อนุกรมวิธานดิน ป ค.ศ. 2003

                           5. แผนที่ดินและแผนที่กลุมชุดดินของจังหวัดตางๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ

                        3.2 วิธีการ


                           1. แปลขอมูลชุดดินเปนภาษาไทย โดยยึดถือเอกสารวิชาการฉบับที่ 522 เปนตนแบบ
                           2. ปรับปรุงขอมูลชุดดินใหถูกตองโดยใชขอมูลผลวิเคราะหดิน  แผนที่ดินและแผนที่กลุมชุดดิน

                 ประกอบในการพิจารณา

                           3. ออกตรวจสอบสภาพพื้นที่และลักษณะของชุดดินบางชุดดินที่มีขอมูลไมแนชัดในสนาม

                           4. แปลความหมายขอมูลดินและวิเคราะหปญหา  ขอจํากัดในการใชที่ดินเพื่อเพาะปลูก  และ

                 เสนอแนะแนวทางในการแกไข
                           5. จัดทําเอกสารตามรูปแบบที่กําหนดพรอมทั้งภาพหนาตัดชุดดิน


                 4. ผลการศึกษา


                         ขอมูลชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศจํานวน 44  ชุดดิน  ไดรับการปรับปรุง
                 และแปลความหมาย เพื่อการใชประโยชนในการเพาะปลูกพืชดังนี้










                                                                                                         2
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15