Page 13 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 13

3    ชุดดินบุรีรัมย (Buri Ram series: Br)



                                 กลุมชุดดินที่    1
                                 การจําแนกดิน      Fine, smectitic, isohyperthermic Ustic Epiaquerts

                                 การกําเนิด        เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ และ/หรือ เศษหินเชิงเขาของหินบะซอลต

                                                         พบบนสวนต่ําของลาวาหลาก
                                 สภาพพื้นที่       ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชันนอยกวา 2 %

                                 การระบายน้ํา                 คอนขางเลว

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชา
                                 การซึมผานไดของน้ํา         ชาถึงชามาก

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน  ปาเต็งรัง ปจจุบันใชทํานา
                                 การแพรกระจาย        พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                 การจัดเรียงชั้น      Apg-Bssg-Bss
                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึก  เนื้อดินเปนดินเหนียวตลอด   สีดินเปนสีเทาเขมหรือสีน้ําตาล

                                 ปนเทาเขม   มีจุดประสีน้ําตาลปนแดงเขม  ในฤดูแลงจะมีรอยแตกระแหงกวางและลึกและมีรอยไถล

                                 ในหนาตัดดิน  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)  ในดินบนและเปนกลางถึง
                                 เปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          สูง          ปานกลาง       ปานกลาง        ปานกลาง        ปานกลาง

                 25-50         ต่ํา          สูง          ปานกลาง       ปานกลาง        ปานกลาง        ปานกลาง
                 50-100        ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน          ชุดดินวัฒนา

               ขอจํากัดการใชประโยชน        เปนดินเหนียวจัด
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ทํานา  ควรไถพรวนในชวงที่ดินอยูในสภาพความชื้นที่เหมาะสม  ควรปรับปรุงดินโดย

               การใสปุยหมักหรือปุยคอกเพื่อทําใหสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้นและปุยเคมี



















                                                                                                                5
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18