Page 14 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 14
4 ชุดดินบุญฑริก (Bunthrik series: Bt)
กลุมชุดดินที่ 17hi or 35b
การจําแนกดิน Fine-loamy, mixed, isohyperthermic Plinthaquic Paleustults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว
แผนดิน
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 0-5 %
การระบายน้ํา ดีปานกลางในดินบนและคอนขางเลวในดินลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลางถึงชา
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ไมพุมหนามและปาแดง บางสวนใชทํานา
การแพรกระจาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดเรียงชั้น A-Bw-Bt-2Btgv
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึก ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย สีน้ําตาล
ปนเทา ถัดลงไปมีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลซีด ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินเหนียวปน
ทราย สีน้ําตาลถึงสีเทาปนน้ําตาล พบจุดประสีแดงของศิลาแลงออนและพบชั้นดินที่แสดงถึงความไม
ตอเนื่องทางธรณี ในระดับความลึก 100-150 ซม. ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง
(pH 5.0-6.0) ในดินบนและเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินเรณู
ขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา เนื้อดินคอนขางเปนทราย พืชอาจขาดน้ําในชวงฤดูเพาะปลูก
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ใชทํานา ควรปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดินและสมบัติทางกายภาพของดิน โดย
การใชปุยเคมี ปุยคอก ปุยหมัก และปุยพืชสด ควรจัดหาแหลงน้ําในพื้นที่โดยการขุดสระเพื่อกักเก็บน้ํา
6