Page 44 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 44
35
สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณประยุกตทั้งมาตรฐาน
IFOAM และ CODEX เปนหลักอางอิงในการกําหนดมาตรฐาน
2. มาตรฐานของเอกชน มาตรฐานเอกชนที่ประเทศไทยใชในปจจุบัน สําหรับกรณีขาวนั้น
เอกชนไทยยังไมไดกําหนดมาตรฐานขึ้นใชเอง แตมาตรฐานที่ใชอยูเปนมาตรฐานตามประเทศที่เอกชน
แหงนั้นๆ สงสินคาออกไปจําหนาย กลาวคือ หากตองการสงสินคาไปยังประเทศใดสินคาก็ตองได
ตามมาตรฐานที่ประเทศนั้นยอมรับ
3. มาตรฐานของตลาดและความตองการของผูบริโภค มาตรฐานที่ผูบริโภคใหการยอมรับ
มีความแตกตางกัน ซึ่งเปนเรื่องที่ยากในการเขาถึงความตองการของผูบริโภค โดยผูบริโภคในแตละกลุม
แตละประเภทใหความเชื่อถือตอมาตรฐานที่แตกตางกัน และตองใชเวลาระยะหนึ่งในการสราง
ความเชื่อมั่นตอมาตรฐานนั้นๆ แกผูบริโภค
ประเภทขององคกรใหการรับรองเกษตรอินทรีย มีดวยกันหลายประเภท ดังนี้คือ
(Grolink, www.grolink.se/certification.html)
1. องคกรภาครัฐ
2. องคกรกึ่งรัฐ
3. องคกรเอกชนเพื่อแสวงหากําไร
4. องคกรเอกชนที่ไมแสวงหากําไร
5. กลุมเกษตรกร
6. กลุมหรือสมาคมผูแปรรูปอาหาร
ลักษณะของประเภทองคกรใหการรับรองดังกลาวสามารถพิจารณาจุดเดนและดอย
ของแตละองคกรไดจากเงื่อนไขสําคัญ คือ
1) ความเชื่อมั่นของผูบริโภคที่มีตอมาตรฐานการรับรองขององคกร
2) ความโปรงใสและสามารถตรวจสอบไดขององคกร
3) ความยืดหยุนในการประยุกตใชมาตรฐานอินทรียกับการผลิตตางๆ
4) ความคลองตัวและประสิทธิภาพการดําเนินกิจกรรม และการพัฒนาแนวคิด
ดานอินทรียขององคกร
เงื่อนไขตางๆ นั้นแตละองคกรมีขอจํากัดที่แตกตางกัน เชน องคกรภาครัฐอาจไดรับ
ความเชื่อมั่นจากผูบริโภคบางกลุมมากกวา แตมีรูปแบบการดําเนินงานและการปรับตัวชากวาเอกชน
ขณะที่ภาคเอกชนอาจมีความคลองตัวและไดรับความเชื่อมั่นจากผูบริโภค แตมีขอจํากัดดานเงินทุนใน
การพัฒนา ขณะที่การพัฒนาของกลุมเกษตรกรอาจมีการรับรูและปรับปรุงดานการผลิตไดรวดเร็วเพื่อ
ตอบสนองกับภาวะตลาด แตมีขอจํากัดดานขาวสารการตลาดที่สมบูรณ สวนกลุมสมาคมผูแปรรูปอาจ