Page 46 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 46

37



                                      ผลจากอิทธิพลดานตลาดตางประเทศที่มีตอสินคาเกษตรอินทรียของไทย   เปน

                    ประเด็นหนึ่งที่มีความสําคัญไมนอยไปกวากระแสการเอาใจใสตอสุขภาพของผูบริโภค   การกําหนด
                    มาตรฐานสินคาเกษตรในประเทศไทยจึงเปนผลตอเนื่องจากการที่ตองปฏิบัติตามมาตรฐานสินคาสงออก

                    อยางไรก็ตามจากรายงานการศึกษาของ  Gunner Rundgren  (2002)  การพัฒนามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย

                    เริ่มแรกของประเทศในยุโรปเริ่มตนตั้งแต  25  ปกอนจากกลุมเกษตรผูผลิตเอง  และเมื่อทําการพิจารณา
                    ถึงจุดเริ่มของประเทศดังกลาวก็ไมใชประเด็นที่เขาใจไดยากในฐานะที่ประเทศไทยเปนประเทศผูสงออก

                    สินคาเกษตรรายใหญที่มีผลประโยชนจากเงื่อนไขการปฏิบัติการทําเกษตรอินทรียเพื่อสรางความแตกตาง

                    ระหวางสินคาอันทําใหราคาขายสูงขึ้น  หากแตการสงเสริมดานเกษตรอินทรียของประเทศในสหภาพยุโรป

                    เปนผลจากการตองการลดพื้นที่การเพาะปลูกทางการเกษตรไมใหขยายตัวอันเปนผลจากอุปทาน
                    สวนเกินในประเทศตรงกันขามกับประเทศไทย   ความสําคัญของสินคาเกษตรอินทรียนํามาซึ่งการตื่นตัว

                    ของภาครัฐที่ออกนโยบายหลักในการที่ตองการใหประเทศไทยเปนผูสงออกสินคาอินทรีย   โดยเฉพาะ

                    สินคาขาวที่ใหญที่สุดในโลก  ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีระบบการตรวจรับรองมาตรฐานสินคาเกษตร

                    อินทรียใหเปนที่ยอมรับกันในประเทศคูคา  และเปนระบบที่มีคาใชจายไมสูงเกินไป

                                   3. การเปลี่ยนแปลงจากผลมาตรฐานสินคาเกษตรอินทรียที่มีตอสินคาขาวหอมมะลิไทย

                                      ความเชื่อมั่นตอสินคาของผูบริโภคหรือผูนําเขา   เปนประเด็นที่สําคัญอยางยิ่ง

                    สําหรับสินคาเกษตรอินทรียที่ผูบริโภคพอใจในตัวสินคาและยอมรับตอเครื่องหมายรับรองนั้นๆ  วาเปน

                    สินคาคุณภาพมีวิธีปฏิบัติดูแลตามมาตรฐานอยางเครงครัดในแตละระดับขั้นสินคา  ซึ่งเมื่อพิจารณาตาม
                    ระดับขั้นสินคาหรืออุปทานแบบลูกโซ  (Supply chain)  พบวา


                                      3.1 ระดับฟารม   องคกรที่รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียบางองคกรที่ทําการ

                    รับรองสินคาขาวหอมมะลิอินทรียในประเทศไทยนั้นเปนการรับรองระบบการบริหารจัดการแกองคกร
                    ที่ทําการตรวจสอบขาวหอมมะลิอินทรียในประเทศไทยแบบปตอป   ในขณะที่บางองคกรรับรองมาตรฐาน

                    สินคาขาวหอมมะลิอินทรียที่โดยสงเจาหนาที่จากองคกรของตนในตางประเทศ  เพื่อมาทําตรวจสอบรับรอง

                    แบบปตอปจากโครงสรางการรับรองสินคาขาวหอมมะลิอินทรียที่แตกตางกัน    ตนทุนในการรับรอง

                    ที่แตกตางกัน  และที่สําคัญระเบียบการปฏิบัติที่แตกตางกันของแตละองคกรก็ทําใหผูบริโภคที่เลือกซื้อสินคา
                    ในแตละประเทศ  และองคกรรับรองมาตรฐานที่แตกตางกัน  มีความเชื่อมั่น  และความภักดีตอตัวสินคา

                    ที่แตกตางกัน

                                      3.2 ระดับการแปรรูป   ขั้นตอนการแปรรูปขาวหอมมะลิอินทรียเปนขั้นตอนที่

                    มีการใชเทคโนโลยีสมัยใหมเขามานอกเหนือจากการใชปจจัยตามธรรมชาติใหมากที่สุดตามหลักการ

                    ของเกษตรอินทรีย   ในขั้นตอนนี้มีเฉพาะบางองคกรรับรองสินคาเกษตรอินทรียเทานั้นที่ใหการตรวจสอบ
                    รับรองในขั้นตอนการแปรรูปนี้  และแตละองคกรก็มีความเขมงวดที่แตกตางกัน โรงสีเปนอุตสาหกรรม

                    แปรรูปที่สําคัญสําหรับการสีขาวหอมมะลิอินทรีย  รองลงมาก็เปนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ  ซึ่งอาจเปน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50