Page 42 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 42

33



                                   จากสถิติ  ณ  เดือนตุลาคม  2545  สํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรียมีรายชื่อผูผลิต

                    ผูประกอบการที่ไดรับการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียทั้งสิ้น  46  ราย  จําแนกเปน  ผูประกอบการ  5  ราย
                    ผูประกอบการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตภัณฑจากปาและธรรมชาติ  2  ราย  โครงการเกษตรอินทรีย  4  โครงการ

                    (ประกอบดวยผูผลิตจํานวน  285  ราย)  และผูผลิตพืชเชิงเดี่ยว  35  ราย  นอกจากนั้นยังมีผูรับจางการ

                    ผลิตที่ไดรับการตรวจสอบแลววาเปนไปตามมาตรฐานเกษตรอินทรียใน  พ.ศ.2544  อีก  3  ราย  สําหรับ
                    การรับรองโครงการกลุมเกษตรกรผูเพาะปลูกขาวหอมมะลิอินทรียนั้น   สํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย

                    ใหการรับรองกลุมเกษตรกร  3  กลุม  ไดแก  1)  โครงการเสริมประสิทธิภาพเกษตรกร  จังหวัดสุรินทร

                    2)  โครงการสงเสริมเกษตรอินทรียเครือขายเกษตรกรจังหวัดยโสธร  และ  3)  บริษัท  เฮลทตี้  อะโกร

                    โปรดิวซ  จํากัด

                                   2) สถาบันพืชอินทรีย  เปนหนวยงานของภาครัฐ  ที่มีการตรวจสอบรับรองการผลิต

                    เกษตรอินทรียโดยใชมาตรฐานการผลิตพืชอินทรียของประเทศไทย  ซึ่งมาตรฐานนี้จัดทําฉบับรางขึ้นใน

                    ป  พ.ศ.2542  จากความรวมมือของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย  โดยการ
                    สนับสนุนของกรมสงเสริมการสงออก   กระทรวงพาณิชย   ตอมาไดมีการพิจารณามาตรฐานฉบับรางนี้

                    รวมกันระหวางสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย   กรมสงเสริมการสงออก

                    และกรมวิชาการเกษตร   เพื่อใหไดมาตรฐานการผลิตพืชอินทรียที่เหมาะสมในการใชเปนคูมือการผลิต
                    พืชอินทรียของประเทศไทย  ผานการปรับปรุงแกไขครั้งสุดทายเมื่อวันที่  18  ตุลาคม  2543  โดยยึดแนวปฏิบัติ

                    ตามมาตรฐานเกษตรอินทรียของ  IFOAM  และ  Codex  มาประยุกตใชกับสินคาเกษตรอินทรียของไทย

                                   โดย  พ.ศ.2545  สถาบันพืชอินทรียของกรมวิชาการเกษตร  ไดใหการรับรองผลิตภัณฑ

                    พืชอินทรียแกบริษัทและฟารมทําการผลิตแลวจํานวน  13  แหง  และเพิ่มเปน  26  แหงจากตัวเลขเบื้องตน

                    ของป  2546  โดยผูไดรับการรับรองสวนใหญทําการผลิตผัก  ผลไม  สมุนไพร  และพืชไร  อาทิ  ถั่ว

                    สัปปะรด   และขาวโพด   สําหรับผูผลิตขาวที่ไดรับการรับรองจากสถาบันพืชอินทรียในป    2545
                    มีจํานวน  3   แหง   ไดแก  1)   บานสวนยั่งยืน  (ตําบลแมยาว   อําเภอเมือง   จังหวัดเชียงราย)

                    2)  บริษัท  พี.เอส.เอส  ออแกนิก  (ประเทศไทย)  จํากัด  (ตําบลเมืองใต  อําเภอเมือง  จังหวัดศรีสะเกษ)

                    และ  3)  นายจักรพงษ  นะวานนท  (ตําบลทุงพง  อําเภอหนองฉาง  จังหวัดอุทัยธานี)  แตถึงกระนั้น

                    มาตรฐานดังกลาวมีขอจํากัดดานการยอมรับจากตลาดในตางประเทศ   และนํามาซึ่งการกอตั้งสํานักงาน
                    มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ


                                   3) สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ      เปนหนวยงานของ
                    กระทรวงเกษตรและสหกรณ   มาตรฐานที่กําหนดขึ้นเปนการตรวจสอบและใหการรับรองผลผลิต

                    เกษตรอินทรีย  โดยนําแนวทางการกําหนดมาตรฐานเกษตรอินทรียมาจาก  FAO/WHO  และมาตรฐาน

                    เบื้องตนเกษตรอินทรียของ IFOAM  มาใช    ซึ่งปจจุบันมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ
                    ยังอยูในขั้นฉบับราง   ยังไมมีการบังคับใหปฏิบัติแตอยางใด
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47