Page 43 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 43

34



                                   4) องคกรตรวจสอบรับรองจากตางประเทศ  นอกเหนือจากองคกรตรวจสอบรับรอง

                    ในประเทศแลว  องคกรตรวจสอบรับรองจากตางประเทศนับวามีบทบาทสําคัญตอการสงออกสินคาเกษตร
                    ของไทย    เนื่องจากการสงออกสินคาไปยังประเทศผูนําเขา    ผูสงออกตองไดรับรองมาตรฐานที่

                    ประเทศนําเขานั้นๆ  กําหนด  สําหรับองคกรตรวจสอบรับรองจากตางประเทศโดยเฉพาะการตรวจสอบ

                    รับรองผลผลิตขาวหอมมะลิของไทย  ไดแก

                                        4.1 Bio Agri Coop   เปนองคกรที่ไดรับการรับรองมาตรฐานจากหนวยงาน
                    IFOAM   ซึ่งบริษัทใหการรับรองมาตรฐานนี้ขึ้นทะเบียนเปนผูรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย

                    ในประเทศอิตาลี   ในการรับรองผลผลิตเกษตรนั้นอยูภายใตเงื่อนไขตามที่ผูตรวจสอบรองขอมา   คือ

                    การปฏิบัติงานในการตรวจสอบจะตองไดรับการยืนยันการปฏิบัติงานในพื้นที่จากหนวยงานภาครัฐใน
                    ประเทศไทยดวยการตรวจสอบจึงไดรับความรวมมือจากหนวยงานภาครัฐ   ไดแก  กรมวิชาการเกษตร

                    ในการใชหองปฏิบัติการเพื่อตรวจสอบรับรองคุณภาพผลผลิต  โดยในเริ่มแรกนั้นไดรวมกันตรวจสอบ

                    ขาวอินทรียโครงการผลิตขาวอินทรียของภาคเอกชน  คือ  บริษัทเชียงใหมไชยวิวัฒนซึ่งมีพื้นที่โครงการ

                    อยูในจังหวัดพะเยาและเชียงรายโดยตองใชเวลา 2  ป  จึงไดเอกสารรับรองมาตรฐานการผลิต
                    ขาวอินทรียจาก  Bio Agri Coop  และถือเปนเอกชนนอกสหภาพยุโรปแหงแรกที่ไดรับรองมาตรฐานนี้


                                        4.2 Bio Suisse   เปนองคกรใหการรับรองที่ขึ้นทะเบียนเปนผูรับรอง
                    ในประเทศสวิสเซอรแลนด   มาตรฐานการตรวจสอบอางอิงระเบียบขอบังคับเกษตรอินทรียของ EU

                    Regulation  2092/91   และไดพัฒนาระเบียบขอบังคับเพิ่มเติมจากมาตรฐานสากล   องคกรนี้เขามา

                    ตรวจรับรองมาตรฐานการผลิตเกษตรอินทรียในประเทศไทยครั้งแรกใน  พ.ศ.2544  โดยทําการตรวจสอบ
                    ใหแกเกษตรกรของสมาคมเกษตรกาวหนา  จังหวัดอุบลราชธานีซึ่งมาตรฐานนี้มีระยะเวลาการปรับเปลี่ยน

                    2  ป   ดังนั้นในปจจุบันองคกรนี้จึงใหการรับรองผลผลิตขาวอินทรียของสมาคมเกษตรกาวหนาใน

                    ระยะปรับเปลี่ยนปที่  1


                    ความแตกตางที่สําคัญของมาตรฐานการรับรองสินคาเกษตรอินทรียขององคกรตางๆ



                                   แมวาจะมีวัตถุประสงคและหลักการในการตรวจสอบรับรองผลผลิตที่มาจากการทํา
                    การผลิตแบบระบบอินทรียเชนเดียวกัน   แตองคกรใหการรับรองแตละแหงมีการกําหนดกฎเกณฑและ

                    รายละเอียดการปฏิบัติตามมาตรฐานที่มีความเขมงวดแตกตางกัน


                                   ความแตกตางของมาตรฐาน  ซึ่งผูผลิตขนาดเล็กหรือประเทศไทยเผชิญอยูนั้นเกี่ยวของ
                    กับประเด็นหลัก  3  ประเด็น  คือ


                                   1.  กฎระเบียบหรือขอบังคับที่มีอิทธิพลตอประเทศไทย   โดยขอบังคับตามมาตรฐาน
                    ของเกษตรอินทรียที่มีอิทธิพลตอประเทศไทยมากที่สุดในปจจุบัน  ไดแก  มาตรฐานของ  IFOAM  และ

                    CODEX  ซึ่งองคกรตรวจสอบเอกชนของไทย  คือ  มกท.  ประยุกตมาตรฐาน  IFOAM  มาใช  สําหรับ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48