Page 45 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 45

36



                    รับขอมูลการตลาดไดเร็วกวาองคกรอื่น แตมีขอจํากัดดานการตรวจสอบระบบระดับฟารมที่อาจทําไดไม

                    สมบูรณเทาองคกรเอกชน  เปนตน


                    ความจําเปนของระบบการรับรองมาตรฐานสินคาอินทรียสําหรับประเทศไทย



                                   1. การริเริ่มการรับรองมาตรฐานสินคาเกษตรอินทรียของประเทศไทยในเอเซีย

                                      ขอมูลการกําหนดมาตรฐานสินคาอินทรียของประเทศในเอเซียของ  Grolink

                    (Feb, 2002)  นั้น  สามารถสรุปขั้นการพัฒนาดานการรับรองมาตรฐานของเกษตรอินทรียในเอเซีย  ไดเปน

                                      1.1  ประเทศที่มีมาตรฐาน  (Regulation in place)  ไดแก  จีน  อินเดีย  ญี่ปุน  เกาหลีใต

                    และไตหวัน

                                      1.2  ประเทศที่อยูในขั้นริเริ่ม  (Stage of initiative implemented)  ไดแก  ฮองกง

                    (ซึ่งมีสนธิสัญญาการปฏิบัติที่สมบูรณแลว)   อินโดนีเซีย  (อยูระหวางการพิจารณารางมาตรฐาน)   มาเลเซีย

                    (อยูระหวางการกําหนดมาตรฐานขั้นสุดทาย)  ฟลิปปนส  (อยูระหวางการพิจารณาขั้นตน)  และประเทศไทย
                    (อยูระหวางการตรวจสอบและรับรองขั้นสุดทาย)



                                      1.3  ประเทศที่ยังไมมีการริเริ่ม  (no initiative)   ไดแก   บังคลาเทศ   ภูฐาน
                    กัมพูชา  ลาว  มองโกเลีย  เนปาล  ปากีสถาน  ศรีลังกา  และเวียดนาม


                                   จากขอมูลดังกลาวจะเห็นไดวาประเทศในเอเซียมีการพัฒนาดานมาตรฐานสินคาเกษตร

                    อินทรียที่ไมสมดุลกัน   กลาวคือในขณะที่บางแหงมีมาตรฐานและประกาศใชแลวบางประเทศยังไมมี
                    การพัฒนาและนํามาใชเลย


                                   2. ความจําเปนของระบบการรับรองมาตรฐานสําหรับสินคาอินทรียของตลาดใน

                    ประเทศ

                                      เมื่อพิจารณาสินคาเกษตรอินทรียของประเทศไทย  ซึ่งคุณสมบัติเดนของสินคาเกษตร

                    ที่แตกตางจากสินคาอุตสาหกรรม  คือ  ลักษณะที่ไมเหมือนกันในกลุมสินคา  (Heterogeneous group)
                    หรือมีลักษณะความเหมือนกันในกลุมสินคาเดียวกันนอยกวาเมื่อเปรียบเทียบกับสินคาอุตสาหกรรม

                    ดังนั้นการกําหนดมาตรฐานการรับรองสําหรับสินคาเกษตรจึงทําไดยาก  การรวมตัวกันของผูผลิตสินคา

                    เกษตรอินทรียเพื่อกําหนดมาตรฐานเฉพาะกลุมของตนซึ่งเริ่มกําเนิดขึ้นครั้งแรกกวา  20   ปที่ผานมา

                    ในสหภาพยุโรปนั้นพัฒนาขึ้น จากการกําหนดเครื่องหมายของกลุมที่ไดรับการรับรองในการปฏิบัติหรือ
                    การเพาะปลูกตามมาตรฐานที่กําหนดและเมื่อตลาดมีการพัฒนาขึ้น   การประกันคุณภาพจึงเปนลักษณะเดน

                    ของตัวสินคาที่เจาของกลุมสินคานั้นๆ   ตองการมีเพื่อสรางความแตกตางระหวางสินคาของตน

                    กับของคูแขง  กอรปกับแรงผลักดันดานการคาทําใหการไดรับการรับรองมาตรฐานเปนความจําเปน
                    ที่ประเทศผูสงออกตองปรับตัวตามกระแสอยางหลีกเลี่ยงไมได
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50