Page 47 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 47

38



                    แหลงเดียวหรือคนละแหลงกับโรงสีที่แปรรูป   ระบบการทําความสะอาดและการคัดแยกขาวหอมมะลิอินทรีย

                    กับขาวประเภทอื่นจึงเปนหลักสําคัญในการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรียของแตละองคกร

                                      3.3 ระดับขั้นการสงออก   สินคาเกษตรอินทรียที่ทําการสงออกไปยัง

                    ตางประเทศตองไดรับการรับรอง   หรือไดรับการยอมรับจากองคกรเกษตรอินทรียของประเทศผูนําเขา

                    กอนจึงจะสามารถนําเขาสินคาในฐานะสินคาเกษตรอินทรียได     ประเด็นก็คือประเทศไทยสงออก
                    ขาวหอมมะลิไปยังหลายประเทศ  หลายภูมิภาค  และถึงแมจะเปนสหภาพยุโรปเหมือนกัน   แตรายละเอียด

                    มาตรฐานการยอมรับเปนสินคาเกษตรอินทรียของแตละประเทศก็มีความแตกตางกัน  บางแหงมีความเขมขน

                    ของมาตรฐานนอย   บางแหงมีความเขมขนมาก  การปฏิบัติตามมาตรฐานของประเทศที่มีความเขมขน
                    ของมาตรฐานนอยก็เสมือนเปนการจํากัดโอกาสในการขยายตลาดสินคา   ในขณะที่การสงออกไปยัง

                    ประเทศที่มีมาตรฐานสูงก็เปนการเพิ่มตนทุนทั้งทางตรงและทางออมแกสินคาขาวหอมมะลิอินทรีย

                    ที่ประเทศไทยสงออก  กลาวคือ  ตนทุนทางตรง  ไดแก  คาใชจายในการพัฒนาคุณภาพสินคาเพื่อให

                    ตรงกับมาตรฐานที่กําหนด  สําหรับตนทุนทางออมคือ  โอกาสการขยายตลาด  ตนทุนการปรับเปลี่ยน
                    รูปแบบการดําเนินการที่ตองใชเวลา  และความเสี่ยงของผลผลิต  เปนตน


                                   รูปแบบการผลิตและการปรับตัวของเกษตรกร   การปรับตัวของเกษตรกรจากการเพาะปลูก
                    ตามรูปแบบประเพณีมาสูการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย  พิจารณาตามแหลงเพาะปลูกขาวหอมมะลิอินทรีย

                    ที่สําคัญของไทยจําแนกไดเปน


                                   1) แหลงเพาะปลูกที่ไดรับผลกระทบจากเกษตรเคมีต่ํา   หรือแหลงที่ไมเคยใชสารเคมี
                    ในพื้นที่มากอนและมีพื้นที่ใกลเคียงใชสารเคมีต่ํา   รวมถึงมีความเสี่ยงดานปญหาแหลงตนน้ํามีการใช

                    สารเคมีนอย   พื้นที่ซึ่งมีคุณสมบัตินี้เปนพื้นที่งายตอการปรับตัวของเกษตรกรใหมีวิธีการปฏิบัติแบบ

                    เกษตรอินทรียไดงาย   ภูมิภาคที่มีคุณสมบัตินี้สวนใหญเปนพื้นที่ชนบทหางไกลเมือง   หรือเปนพื้นที่ราบสูง
                    เชิงเขาที่ไมมีปญหาน้ําทวม   พื้นที่เพาะปลูกขาวหอมมะลิอินทรียของไทยที่อยูภายใตนิยามนี้   ไดแก

                    พื้นที่เพาะปลูกขาวหอมมะลิอินทรียในจังหวัดพะเยาและเชียงราย


                                   2)  แหลงเพาะปลูกที่ไดรับผลกระทบจากเกษตรเคมีสูง   หรือแหลงที่มีอัตราการใช
                    สารเคมีในการผลิตสูงมาเปนระยะเวลานานและมีพื้นที่ใกลเคียงทําการเพาะปลูกแบบเกษตรเคมีเขมขน

                    กลาวคือ   มีการใชสารเคมีในการเพาะปลูกเปนหลักและหากปรับเปลี่ยนมาทําการเกษตรแบบอินทรีย

                    จะตองใชเวลานาน  เนื่องจากมีสารเคมีตกคางในพื้นที่เพาะปลูกในระดับสูง  นอกจากนั้นยังไดรับอิทธิพล
                    จากการใชสารเคมีของพื้นที่ใกลเคียงทั้งการแพรกระจายและการแทรกซึมผานทางสภาพแวดลอม

                    พื้นที่บริเวณนี้มักเปนพื้นที่เพาะปลูกขาวมากกวา 1 ครั้งตอป  มักอยูในภูมิภาคที่เจริญแลว  เชน  พื้นที่ทํานา

                    ภาคกลาง

                                   3) แหลงเพาะปลูกที่มีความเสี่ยงจะไดรับผลกระทบจากเกษตรเคมี   เปนแหลงเพาะปลูกที่

                    แตกตางจาก 2  แหลงแรก   กลาวคือเปนพื้นที่ที่อาจใชสารเคมีอยูในระดับต่ําหรือไดรับผลกระทบจาก
   42   43   44   45   46   47   48   49   50