Page 41 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 41

32



                    1. ที่มาและการพัฒนาเกษตรอินทรียของประเทศไทย

                                   ประเทศไทยเปนประเทศกําลังพัฒนาซึ่งมีสินคาเกษตรเปนสินคาสงออกและนํามา

                    ซึ่งรายไดในรูปเงินตราตางประเทศ   ดังนั้นจุดริเริ่มของการพัฒนาการเกษตรอินทรียของประเทศไทย

                    คือ  การที่ผูบริโภคในประเทศนําเขาสินคาเกษตรจากไทยใหความสําคัญกับคุณภาพสินคา  และสภาพแวดลอม

                    การผลิตบริษัทเอกชนผูแปรรูปและผูสงออกของไทยจึงเปนจุดเริ่มในการพัฒนาโครงการนํารอง
                    ผลิตขาวอินทรียเพื่อการสงออกโดยเกิดขึ้นเปนครั้งแรกใน  พ.ศ.2534


                                   การเกษตรอินทรียของไทยมี   3    ลักษณะจําแนกตามรูปแบบองคกรพัฒนาและ

                    ใหการสนับสนุนกลุมเกษตรกรผูทําการผลิต  คือ  1)  องคกรเอกชน  2)  องคกรเอกชนที่ไมแสวงหากําไร
                    และ  3)  องคกรภาครัฐ  ซึ่งรูปแบบองคกรแรกที่พัฒนาขึ้นในประเทศไทย  คือ  องคกรเอกชนผูแปรรูป

                    และสงออกขาว   ตอมาองคกรเอกชนที่ไมแสวงหากําไรจึงไดเริ่มเขามามีบทบาทในการผลิตเชิงอินทรีย

                    ใน  พ.ศ.2538  สําหรับองคกรภาครัฐนั้นปจจุบันเริ่มเขามามีบทบาท  2  ดานคือ

                               -  ดานการใหการรับรองผลผลิตอินทรีย  ไดแก  กรมวิชาการเกษตร  และสํานักงาน

                                   มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ  กระทรวงเกษตรและสหกรณ  ซึ่งเริ่มทําการ
                                   พัฒนามาตรฐานสินคาอินทรียใน  พ.ศ.2543  และ 2545  ตามลําดับ  และปจจุบันยังอยูใน

                                   ขั้นตอนการรอการอนุมัติภายใตความรับผิดชอบของสํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตร

                                   และอาหารแหงชาติ

                               -  ดานการสงเสริมการผลิต   เริ่มตนตั้งแต   พ.ศ.2545   ภาคราชการของจังหวัดสุรินทร

                                   ไดมีการแนะนําและสงเสริมการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรียในจังหวัด  ดวยการสงเสริม

                                   ใหเกิดหมูบานเกษตรอินทรียนํารองในพื้นที่   ดวยการใหความรูในการผลิต   และ

                                   การสงเสริมปจจัยการผลิตขั้นพื้นฐาน  แตถึงกระนั้นก็ยังไมมีระบบการตรวจสอบและ
                                   รับรอง



                    2. องคกรดานเกษตรอินทรียและการใหการรับรอง


                                   1) สํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย  หรือ  มกท.  มีฐานะเปนองคกรอิสระ  กอตั้งขึ้น
                    โดยความรวมมือของกลุมองคกรพัฒนาเอกชน  สถาบันวิชาการ  หนวยงานรัฐ  องคกรผูบริโภค  และ

                    เครือขายรานคาสีเขียว  ตั้งแตป  พ.ศ.2538  โดยมาตรฐานเกษตรอินทรีย  มกท.  เปนมาตรฐานขั้นต่ําที่

                    พัฒนาขึ้นโดยคณะอนุกรรมการมาตรฐานของ   มกท.   ตามแนวทางมาตรฐานเกษตรอินทรียของ

                    สหพันธเกษตรอินทรียนานาชาติ  (International Federation lf Organic Agriculture Movement :
                    IFOAM)  และไดรับการอนุมัติโดยที่ประชุมสมัชชาสมาชิกของ  มกท.  โดยมีมาตรฐานครอบคลุมในเรื่อง

                    การผลิตพืชอินทรีย   การปฏิบัติหลังเก็บเกี่ยวและการแปรรูปผลิตภัณฑอินทรีย   และการเก็บผลิตผลจาก

                    ธรรมชาติ  (สํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย,2544)
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46