Page 178 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 178

5-10








               ของเกษตรกรอยูในขณะนี้ ดังนั้นการพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณที่ใชในกระบวนการผลิตเงาะใหมี
               ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงเปนความจําเปนตองมีการดําเนินการ เพื่อทดแทนปญหาการขาดแคลน

               แรงงาน และเพื่อลดตนทุนการผลิตใหต่ําลง

                     8)  จดทะเบียนฟารมและพัฒนาการผลิตแบบ GAP ในระยะแรกเนนกลุมพัฒนาการผลิตเพื่อ
               สงออก

                     9) ควรมีการปรับปรุงบํารุงดิน ดวยการใชอินทรียวัตถุ เชน ปุยพืชสด ปุยหมัก ปุยคอก

               ในการปลูกเงาะ  โดยเฉพาะอยางยิ่งการใสปุยที่เปนอินทรียวัตถุดังกลาวควบคูไปกับปุยเคมี จะสงผล
               ระยะยาวทําใหโครงสรางของดินดีขึ้น อินทรียวัตถุในดินจะชวยเก็บความชื้นไวในดินไดนานกวา

               ดินที่ไมมีอินทรียวัตถุ ทําใหทนแลงไดนานขึ้น และเปนการลดการปริมาณใชปุยเคมีลง และการใส

               ปุยที่เปนอินทรียวัตถุจะเปนการทําการเกษตรอยางยั่งยืนตอไป
                    10) รัฐควรเพิ่มประสิทธิภาพการตลาด โดยสรางระบบตลาดที่เอื้อประโยชนทุกฝาย สราง

               ความพรอมดานโครงสรางพื้นฐานและสงเสริมตลาดรองรับ

                    11) ภาครัฐบาลควรเปนผูแนะนําและเปดตลาดใหม ๆ ใหมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศที่มี

               ตนทุนการขนสงต่ํา
                    12) ผลไมเปนผลผลิตที่เนาเสีย (Perishible  Products)  จากลักษณะดังกลาวจึงเปนผลทําให

               ผูผลิตมีความเสี่ยงทางการตลาดสูง เพราะผลผลิตจะเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติไดอยางรวดเร็ว

               (Product Characteristic) จึงทําใหผูผลิตมีอํานาจตอรองทางการตลาดต่ํา ทางออกก็คือ ผูผลิตตองมุง

               พยายามแกไขปญหาดวยการบริหารจัดการทางการตลาดเพื่อลดความเสี่ยงในดานตลาดและราคา
               เพื่อใหรายไดมีเสถียรภาพ (Income Sustainable) ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจในดานผลไม

               ภาครัฐควรตองมุงเนนใหความชวยเหลือทั้งดานการตลาดและการผลิต

                    13) ตลาดไมผลคอนขางจะมีความหลากหลาย (Variety)  อันเนื่องมาจากความแตกตางใน
               รสนิยม ที่เกิดจากความแตกตางของภูมิภาค ระดับรายไดของผูบริโภค ดังนั้น การลงทุนในดานการ

               สํารวจตลาด (Market Survey) การทดสอบรสนิยมของตลาด (Market Taste) เปนสิ่งที่รัฐควรลงทุน

               จัดทําเปนขอมูลสารสนเทศโดยมีการแจกแจงรายละเอียดถึงภูมิภาคใด ประเทศใด มีรสนิยมการ
               บริโภคผลไมในลักษณะใด และโอกาสการสงออกในเชิงปริมาณนาจะเปนเทาใด ซึ่งขอมูล

               สารสนเทศในลักษณะนี้จะเปนประโยชนตอผูผลิตที่จะสามารถวางแผนจัดกระบวนการผลิตให

               สอดคลองกับความตองการของตลาดแตละภูมิภาค รวมทั้งการลงทุนในกิจกรรมแนะนําสินคา เพื่อ
               เปดตลาดใหม ๆสําหรัลตลาดที่มีอํานาจซื้อแตยังไมเคยรูจักการบริโภคผลไมไทยมากอน


                    14) รัฐควรลงทุนในดานการบริการอํานวยความสะดวกในดานการสงออก โดยเฉพาะการ
               ปรับกระบวนการพิธีการสงออกของทางราชการในลักษณะแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร (One  Stop





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ                            สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183