Page 173 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 173

5-5








                       การรวมกลุมกันบางก็เปนจํานวนนอย ขาดความแข็งแกรงและมักจะประสบความลมเหลวเมื่อมี
                       ปญหาทางดานการตลาดและความไมสุจริตในการบริหารทางการเงิน

                                8) ขาดระบบตลาดกลางที่ดี การซื้อขายไมมีการประมูลราคา แตขึ้นอยูกับการตกลง

                       ราคาเฉพาะราย เกษตรกรไมมีอํานาจในการตอรองราคา

                                9) ตนทุนการผลิตสูง จากการประมาณการตนทุนการผลิตเงาะป 2547 ของสํานักงาน

                       เศรษฐกิจการเกษตรพบวา ตนทุนการผลิต 9,051.55 บาทตอไร ตนทุนตอกิโลกรัมเทากับ 7.73 บาท
                       ณ ระดับผลผลิต 1,171  กิโลกรัมตอไร  ราคาที่เกษตรกรขายได 6.52 บาทตอกิโลกรัม ทําใหขาดทุน

                       คือมีผลตอบแทนสุทธิ -1.21  บาทตอกิโลกรัม แตจากการสํารวจของสวนวางแผนการใชที่ดิน

                       สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน พบวา เกษตรกรขายผลผลิตไดราคาเฉลี่ย

                       11 บาทตอกิโลกรัม  จึงมีตนทุนตอหนวยผลผลิตเพียง 5.21 บาท ดังนั้นเกษตรกรจึงมีความเสี่ยง
                       ตอภาวะของราคาที่ตกต่ํา จึงควรหาแนวทางลดตนทุนการผลิตลง เพื่อเปนการเพิ่มรายได

                       ซึ่งจากการสํารวจพบวาเกษตรกรไดใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีทําใหลดปริมาณปุยเคมีลงได

                                10) มีการใชมาตรการที่มิใชภาษีมาเปนขอกีดกันทางการคาของประเทศคูคา

                                11) แมพื้นที่เพาะปลูกและปริมาณผลผลิตรวมจะเพิ่มขึ้น ในชวงป 2537-2547 แตกลับมี

                       ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยตอไรลดลงรอยละ 3.12 ตอป คือจาก 1,661 กิโลกรัมตอไรในป 2537  ลดลง

                       เปน 1,171 กิโลกรัมตอไรในป 2547 แสดงวาประสิทธิภาพการผลิตลดลง

                                12) ตนทุนการจัดการที่เหมาะสมเฉลี่ย 7 บาทตอกิโลกรัม แบงเปนคาเก็บเกี่ยวประมาณ
                       2 บาท ที่เหลือคือคาปุยและคาสารเคมี ราคาขายเงาะที่เหมาะสมตองไมต่ํากวา 15-20 บาทตอ

                       กิโลกรัม สําหรับผูที่มีพื้นที่ปลูกเงาะจํานวนมากและการลงทุนสูง หรือราคาเฉลี่ยที่ต่ํากวานี้สําหรับ

                       ผูที่มีพื้นที่และการลงทุนต่ํากวา  ดังนั้นจึงควรที่รัฐและภาคเอกชน ตลอดจนตัวเกษตรกรตองชวยกัน

                       หาแนวทางลดตนทุนลงใหได เพื่อทําใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น
                                13) เกษตรกรใชสารเคมีหรือฉีดยาฆาแมลงในลักษณะหรือปริมาณที่เกินความจําเปน ทําให

                       เกิดปญหาสารตกคาง เปนอันตรายตอผูบริโภค โดยไมคํานึงถึงผลในระยะยาว

                                14) ในขั้นตอนการผลิตเงาะเพื่อใหไดผลผลิตเงาะที่มีคุณคาทางการตลาดในปริมาณมาก

                       เกษตรกรชาวสวนจําเปนตองใชแรงงานเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวผลผลิต

                       ซึ่งคิดเปนรอยละ 60-80  ของแรงงานทั้งหมด ในอดีตที่ผานมาขณะที่ที่ดินเพื่อการเพาะปลูก และ
                       แรงงานในภาคเกษตรที่มีอยางเหลือเฟอ เกษตรกรชาวสวนจึงไมตองประสบกับปญหาการขาดแคลน

                       แรงงาน ตางกับสภาพการณปจจุบันที่มีการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมอยางรวดเร็ว ความตองการ

                       แรงงานก็เพิ่มมากขึ้น ทําใหเกิดการเคลื่อนยายแรงงานของภาคเกษตรสูภาคอุตสาหกรรมซึ่งมีอัตราจาง





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178