Page 176 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 176

5-8








                    5.2.2 ขอจํากัด (Threat)

                         1) ขอบังคับของการใชสารเคมีแตละชนิดในหลักของจีเอพี ไมไดแนะนําวาใชไปแลว

               ทําอยางไรเงาะจึงจะสวย และขายได ไมใชหามใชสารเคมีบางชนิดจนชาวสวนสับสนเพราะสวนใหญ
               เกษตรกรทราบแตชื่อการคาและปจจุบันก็มีหลายชนิด กรมวิชาการเกษตรตองทําแปลงสาธิต

               เพื่อปรับใชกับเกษตรกร

                         2) สภาพอากาศแปรปรวน ทําใหการจัดการสวนทําไดยากขึ้น และสภาพอากาศที่หนาวเย็น
               เปนเวลานานในชวงปลายปที่แลวทําใหเงาะชะงักการออกดอกทิ้งชวง ทําใหผลผลิตชุดใหญ

               แบงเปนชุดอยางชัดเจน แตก็สงผลดีในดานราคาเงาะ เปรียบไดกับการเปดลงใหมถึง 2 ครั้งในปเดียว

               คือชวงตนเดือนมีนาคมและชวงกลางเดือนพฤษภาคม

                         3) เนื่องจากผลไมเปนสินคาที่ตองการพื้นที่และน้ําหนักบรรทุกมาก รวมทั้งตองขนสง
               ดวยความรวดเร็วและระมัดระวัง เพราะเงาะจะบอบช้ําและเนาเสียไดงาย ทําใหการขายเงาะตองถูก

               จํากัดเฉพาะตลาดใกลแหลงผลิตเนื่องจากปญหาตนทุนการขนสงสูง

                         4) ขาดศูนยรวบรวมสินคาและหองเย็น หรือถามีก็ไมเพียงพอ ทําใหไมสามารถรักษา

               คุณภาพสินคา เกิดปญหาสูญเสียหลังการเก็บเกี่ยวอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิใน
               ระหวางการบรรจุหีบหอและการขนสง เปนผลกระทบตอราคาและเปนปญหาดานการตลาด

                         5) ตนทุนวัตถุดิบที่ใชบรรจุกระปองมีราคาสูงขึ้นโดยเฉพาะแผนเหล็ก สงผลใหผลไม

               กระปองของประเทศไทยมีตนทุนสูงอีกประการหนึ่ง นอกจากคาแรงงานแลว เมื่อเปรียบเทียบกับ
               ประเทศคูแขงขันเชน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน หรือประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

                         6) การสนับสนุนของภาครัฐไมเพียงพอ รวมทั้งนโยบายของภาครัฐในการแกไข

               ปญหายังไมมีความชัดเจนและขาดความตอเนื่องในการแกไขปญหา โดยเฉพาะขาดมาตรการในการ
               จัดการเขตพื้นที่ที่เหมาะสมในการผลิตเงาะ

                         7) ขอจํากัดทางธรรมชาติของผลไม เชนผลผลิตออกเปนฤดูกาล และตองพึ่งปจจัยทาง

               ธรรมชาติเปนตัวกําหนดปริมาณและคุณภาพ ผลผลิตที่ออกสูตลาดเปนชวงสั้น ๆ ปริมาณ
               ไมสม่ําเสมอ คุณภาพแตกตางกันมาก ทําใหไมสามารถควบคุมปริมาณและคุณภาพใหสอดคลอง

               กับความตองการของตลาด และประการสําคัญผลไมจากเขตรอนจะเนาเสียงาย จําเปนตองเรง

               การจําหนายโดยเร็ว ทําใหขาดอํานาจตอรอง ราคาตกต่ํา เกษตรกรขาดรายไดในสวนที่ควรจะไดรับ

                         8)  การทําเงาะนอกฤดูหรือลาชาหรือกอนฤดูจะทําใหขายไดราคาดี ในปจจุบันยังไมมี
               สารเคมีหรือฮอรโมนใด ๆ บังคับใหเงาะออกนอกฤดูได (อินทนิลน้ํา, 2544)  แตเกษตรกรสามารถ

               กระทําเองไดโดยการปฏิบัติดังนี้ปกติเงาะออกดอกชวงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ดอกบานผสมติด

               เปนผลชวงเดือนมีนาคม-เมษายน ผลแกเก็บเกี่ยวไดชวงเดือน มิถุนายน-กรกฎาคม การทําใหเงาะออก




               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ                            สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181