Page 182 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 182

บทที่ 6

                                                         เขตการใชที่ดิน



                              เงาะเปนไมผลเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่คุนเคยกับคนไทยเปนอยางดี   รสชาติหวานอรอย

                       รับประทานงาย  พันธุที่เกษตรกรนิยมปลูกมากที่สุด คือ พันธุโรงเรียน   นอกจากนี้ยังมีพันธุอื่น ๆ อีก

                       เชน   พันธุสีชมพู   และพันธุสีทองซึ่งนิยมปลูกในเขตจังหวัดจันทบุรี   และตราด   พื้นที่ปลูกเงาะ
                       สวนใหญอยูในภาคตะวันออกและภาคใต ซึ่งเงาะชอบอากาศรอนชื้น ฝนตกชุก  อุณหภูมิที่เหมาะสม

                       อยูระหวาง 25 – 30 องศาเซลเซียส   ความชื้นสัมพัทธประมาณรอยละ 75-85   ในปหนึ่ง ๆ สามารถ

                       สรางรายไดใหแกเกษตรกรชาวสวนเงาะ   รวมทั้งพอคาที่เกี่ยวของกับไมผลชนิดนี้เปนจํานวนมาก

                       ตลาดที่สําคัญ คือ ตลาดภายในประเทศ   ซึ่งแยกเปนบริโภคสดและตลาดอุตสาหกรรมเงาะกระปอง
                       ปจจุบันเกษตรกรใหความสนใจพัฒนาเทคนิคการปลูก   โดยนําวิทยาการกาวหนาสมัยใหมมาใช

                       บํารุงรักษาตน   การกําจัดศัตรูพืชและโรคพืช   รวมถึงการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว   ทําใหการผลิต

                       พัฒนาไปสูระบบการผลิตเพื่อการคากับตางประเทศมากขึ้น

                              ในปจจุบันเกษตรกรไดขยายพื้นที่ปลูกเงาะเพิ่มมากขึ้น   โดยสวนใหญนิยมปลูกในลักษณะ
                       สวนผสม   ทําใหผลผลิตเงาะที่ออกสูตลาดในแตละปมีเปนจํานวนมากและสงผลใหขายไดราคาต่ํา

                       ไมคุมกับการลงทุนเนื่องจากใชตนทุนในการดูแลรักษาและคาแรงงานเก็บเกี่ยวคอนขางสูง

                       กระทรวงเกษตรและสหกรณไดตระหนักถึงปญหาดังกลาวขางตน   จึงไดจัดทํายุทธศาสตรเพื่อ
                       กําหนดเปาหมายการผลิตเงาะตั้งแตป พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2552 โดยในป พ.ศ. 2552   ลดพื้นที่ปลูกเงาะ

                       ใหเหลือเพียง 293,000  ไร   และมีปริมาณผลผลิต 289,000  ตันตอป   พรอมกันนี้ตองพัฒนา

                       คุณภาพผลผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปซึ่งเปนการเพิ่มมูลคาผลผลิตอีกวิธีหนึ่ง

                              จากการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ ซึ่งเลือกเฉพาะเงาะพันธุโรงเรียนเทานั้น

                       เนื่องจากเปนพันธุที่เกษตรกรนิยมปลูกเพื่อการคา   พันธุสีชมพูในปจจุบันเหลือนอยมากและ
                       ไมปลูกเปนลักษณะสวนเพื่อการคาและมีราคาต่ํา   สวนพันธุสีทองยังมีเกษตรกรปลูกนอยรายและ

                       พื้นที่ปลูกไมกระจายซึ่งสวนใหญพบมากทางภาคตะวันออก   ในการกําหนดเขตการใชที่ดิน

                       ใชลักษณะทางกายภาพพิจารณารวมกับลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม   ประมวลผลโดยใชระบบ
                       สารสนเทศภูมิศาสตร   โดยพิจารณาถึงพื้นที่เปาหมายการผลิตเปนสําคัญ    โดยคัดเลือกพื้นที่ที่มี

                       ความเหมาะสมสูงและปานกลางเปนหลัก

                              ในการกําหนดเขตการใชที่ดินในพื้นที่เพื่อเกษตรกรรม 165 ลานไร   ไดแบงเขตความเหมาะสม

                       เปน 3  เขต คือ เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมาก (Z-I)   ปานกลาง (Z-II)   และนอย (Z-III)
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187