Page 183 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 183

6-2








               ตามลําดับ ซึ่งสําหรับเงาะพบเพียง 2  เขต เทานั้น คือ เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากและ
               ปานกลาง   เมื่อพิจารณาเปนรายภาคพบวา   ในภาคตะวันออกเขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมาก

               มีเนื้อที่ 81,315  ไร   พบมากที่จังหวัด จันทบุรี เขตเขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางมีเนื้อที่

               12,963  ไร   พบมากที่จังหวัดจันทบุรี   ภาคใตเขตเขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากมีเนื้อที่
               171,001 ไร พบมากที่จังหวัด นครศรีธรรมราชเขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางมีเนื้อที่

               26,612 ไร  พบมากที่จังหวัดชุมพร (ตารางที่ 6-1) และการกระจายของเขตการใชที่ดินแสดงในรูปที่ 6-1

               ถึง 6-19
                       นอกจากนี้ไดพิจารณาเขตการใชที่ดินในระดับตําบล (ตารางที่ 6-2) เพื่อเปนแนวทาง

               ใหกับหนวยงานของรัฐบาลในการกําหนดแผนการพัฒนาในแตละพื้นที่ใหมีความสอดคลองกับ

               สภาพความเปนจริง   ซึ่งจะสงผลใหการแกไขปญหาโดยเฉพาะทางดานการเกษตรที่เกี่ยวกับ
               การผลิตเงาะไดตรงประเด็นมากขึ้น การเพิ่มผลผลิตเงาะเพื่อสนองความตองการของตลาดทั้งภายใน

               และตางประเทศ   เกษตรกรควรใชหลักวิชาการสมัยใหมเขามาชวย   ตลอดจนมีการบํารุงรักษา

               อยางถูกหลักวิชาการ   แทนการขยายพื้นที่เพาะปลูก   ทําใหไดผลผลิตเงาะที่มีคุณภาพดีตรงกับ

               ความตองการของผูบริโภค


                       ขอเสนอแนะ


                       1.  เนื่องจากเงาะมีปญหาการผลิตที่สําคัญ คือปญหาเรื่องน้ํา รัฐควรพิจารณาลงทุนเพื่อให

               เกิดระบบการจัดการสงน้ําใหถึงไรนาของเกษตรกร เพื่อลดความเสี่ยงในดานผลผลิตจากปญหาการขาดแคลน
               น้ําในชวงผลผลิตกําลังจะออก รวมทั้งการสงเสริมการเพาะปลูกควรคํานึงถึงสภาพความสอดคลอง

               กับทรัพยากรแตละทองที่ หรืออาจจะตองลงทุนจัดทําเขตการเพาะปลูกไมผล   หรือโดยอํานาจ

               หนาที่ของกรมพัฒนาที่ดิน อาจเขาไปชวยเหลือเกษตรกรในการจัดสรางแหลงน้ําขนาดเล็กในไรนา

               เพื่อจักไดเปนแหลงน้ําสํารองเนื่องจากขาดแคลนแหลงน้ําในชวงฤดูแลงในชวงที่เงาะกําลังติดผล

                       2.  รัฐตองหามาตรการสนับสนุนเกษตรกรชาวสวนเงาะใหมีความรูในดานเทคโนโลยี
               และหลักวิชาการที่ทันสมัยมาใชในการปลูก การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาและบรรจุภัณฑเพื่อให

               สามารถแขงขันในตลาดโลก

                       3. ควรใหขอมูลขาวสารดานการตลาดที่ทันตอเหตุการณโดยเฉพาะทางดานราคารับซื้อ

               ผลผลิต

                       4. ควรใหความรูดานการจัดคุณภาพของภาชนะบรรจุเงาะตามคุณภาพของผลผลิต

               ซึ่งจะสงผลใหขายเงาะไดราคาดีขึ้น





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                            สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188