Page 172 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 172

5-4








                    5.1.2 โอกาส (Opportunities)

                         1) สามารถพัฒนาคุณภาพของผลผลิตใหสอดคลองกับความตองการของตลาดได

                         2) ตลาดตางประเทศยังสามารถรองรับผลผลิตเงาะคุณภาพไดอีกมากในตลาดเดิม เชน
               ตลาดไตหวัน และตลาดฮองกง เปนตน และตลาดใหม เชน ตลาดตะวันออกกลาง แคนาดา และ

               แอฟริกาใต เปนตน

                         3) การพัฒนารูปแบบการขาย หรือบริการใหม ๆ หรือผลิตผลอินทรีย เพื่อโอกาส
               ในการขยายตลาดใหม

                         4) กรมสงเสริมการเกษตรไดสงเสริมใหมีการจัดตั้งกลุมพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ

               เงาะเพื่อนํารองและขยายผลการพัฒนาเงาะใน 9 จังหวัด รวม 9 กลุม สมาชิก 80 รายในพื้นที่ 1,800

               ไร และจัดทําจุดถายทอดเทคโนโลยีเพื่อเปนตัวอยางในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพเงาะ เพื่อให
               เกษตรกรไดเรียนรูการปฏิบัติดูแลรักษาสวนอยางถูกตองและเหมาะสม เพราะการพัฒนาเงาะใหได

               มาตรฐานความตองการของตลาดจะทําใหราคาผลผลิตสูงกวาเงาะทั่วไปรอยละ 30


               5.2  ขอจํากัดในดานการผลิตและการตลาด



                    5.2.1 จุดออน (Weakness)

                        1) ปจจัยการผลิตมีราคาสูง แตเกษตรกรขายเงาะไดราคาต่ํา

                        2) เกษตรกรขาดความรูเชิงวิชาการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการที่จะวางแผน

               การผลิตเงาะใหออกมากระจายตัว ไมออกมามากจนลนตลาดในชวงใดชวงหนึ่ง
                        3) ระบบการคาเงาะไมมีมาตรการควบคุมที่เหมาะสม ทําใหเกิดการทุมตลาด การตัดราคา

               และ/หรือการแยงกันสงสินคาเขาสูตลาดเดียวกันโดยใชสินคาดอยคุณภาพ

                        4) ผลผลิตออกสูตลาดในระยะสั้น สงผลใหราคาตกต่ํา
                        5) คุณภาพของผลผลิตตามที่ตลาดตองการยังมีปริมาณไมเพียงพอ  และเมื่อเปนวัตถุดิบ

               ใหกับโรงงานพบวา ขาดวัตถุดิบที่มีมาตรฐานเพียงพอเพื่อบรรจุกระปองและแปรรูป รวมทั้ง

               ขาดแรงงานที่มีความชํานาญสูง รวมทั้งขาดการประชาสัมพันธที่ดีเพราะผลไมกระปองที่นอกเหนือจาก
               สับปะรดกระปองและน้ําสับปะรดแลว ยังไมเปนที่รูจักและนิยมในกลุมผูบริโภคชาวตางประเทศ

                        6) พันธุการคาที่ปลูกกันอยูมีปญหาเรื่องไมทนทานในการขนสง และเนาเสียงาย

                        7) ลักษณะการผลิตเปนเกษตรกรรายยอย ขาดการรวมกลุมเปนสหกรณหรือกลุมเกษตรกร
               เพื่อสรางความเขมแข็งในดานของประสิทธิภาพการผลิตและอํานาจตอรองทางการคา และถามี









               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ                            สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177