Page 29 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน







                  ในกระบวนการชะล้างพังทลายของดิน เมื่อความลาดเทมากขึ นอัตราการชะล้างพังทลายของดินจะมากขึ นด้วย
                  เนื่องจากน ้าไหลบ่าหน้าดินได้รวดเร็วและรุนแรง มาตรการวิธีกลและมาตรการวิธีพืชที่เหมาะสมตามความลาดเท

                  6 ระดับ ประกอบกับสมบัติด้านอื่นๆ ได้แก่ เนื อดิน ความลึกของดิน การระบายน ้า ปริมาณน ้าฝน ปริมาณ
                  น ้าไหลบ่า และการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดังนี

                               ส้าหรับพื นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ (0 - 2 เปอร์เซ็นต์) สภาพพื นที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง
                  ราบเรียบ ดินส่วนใหญ่เป็นดินที่ลุ่ม มีน ้าท่วมขังในฤดูฝน การระบายน ้าของดินเลวถึงเลวมาก มาตรการอนุรักษ์
                  ดินและน ้าที่ใช้คือการไถพรวนดินและปลูกพืชตามแนวระดับ การปรับรูปแปลงนา การจัดการน ้าร่วมกับ

                  การปรับปรุงบ้ารุงดินเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                               ส้าหรับพื นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย (2 - 5 เปอร์เซ็นต์) ในพื นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
                  ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน ้าเพื่อป้องกันน ้าไหลบ่าและเก็บกักตะกอนดิน การไถพรวนตามแนวระดับ
                  ไม่ควรไถพรวนมากเกินความจ้าเป็น การท้าคันดินร่วมกับการปลูกพืชคลุมดินบนคันดิน คันดินเบนน ้า คันดิน
                  เก็บกักน ้า คันดินฐานกว้าง คันดินฐานแคบ การปลูกพืชคลุมดินบนคันดินและทางล้าเลียงในไร่นา


                               ส้าหรับลูกคลื่นลอนลาด (5 - 12 เปอร์เซ็นต์) ในพื นที่ลอนลาดซึ่งมีความลาดเทเพิ่มขึ น
                  จ้าเป็นต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน ้าที่เข้มข้น เช่น ขั นบันไดดินท้าคันดินร่วมกับการปลูกพืชคลุมดิน คันดิน
                  เบนน ้า คันดินฐานกว้าง คันดินฐานแคบ คันคูรับน ้ารอบเขา การยกร่องตามแนวระดับ การท้าร่องน ้าตามแนวระดับ
                  ทางระบายน ้า คันชะลอความเร็วของน ้า บ่อดักตะกอน ท่อลอดใต้ถนน ท่อระบายน ้า ทางล้าเลียงในไร่นา

                               ส้าหรับพื นที่เนินเขา (12 - 20 เปอร์เซ็นต์) พื นที่เนินเขาควรท้ามาตรการวิธีกลที่เข้มข้น คือ

                  คันดินแบบที่ 5 เป็นคันคูรับน ้ารอบเขา การปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชปุ๋ยสด ปลูกพืชสลับเป็นแถบ ปลูกพืช
                  หมุนเวียน ปลูกพืชแซม ปลูกพืชเหลื่อมฤดู การปลูกพืชระหว่างแถบไม้พุ่มบ้ารุงดิน คันซากพืช แถบหญ้า เช่น
                  หญ้าแฝก หญ้ารูซี่ กระถินกับถั่วมะแฮะ ไม้บังลม

                               ส้าหรับพื นที่ลาดเท (20 - 35 เปอร์เซ็นต์) พื นที่มีความลาดเทมากขึ น จ้าเป็นต้องมีมาตรการ
                  อนุรักษ์ดินและน ้าที่เข้มข้นมากยิ่งขึ น ได้แก่ การจัดคันเบนน ้า คันดินฐานแคบ คันคูรับน ้ารอบเขา ขั นบันไดดิน

                  ซึ่งอาจจะเป็นขั นบันไดดินส้าหรับไม้ผล ส้าหรับมาตรการวิธีพืชที่ใช้ก็ควรใช้ร่วมกับวิธีกลได้แก่ การพืชคลุมดิน
                  ร่วมกับมาตรการอนุรักษ์ดินและน ้าแบบต่างๆ ดังกล่าว การกักเก็บและการระบายน ้าในพื นที่ดังกล่าว
                  ควรพิจารณามาตรการวิธีกลที่มีความเหมาะสมกับสภาพพื นที่และระบายน ้าออกจากพื นที่อย่างมีประสิทธิภาพ

                               ส้าหรับพื นที่ลาดเทสูง (มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์) ควรสงวนไว้เป็นพื นที่ป่าต้นน ้าล้าธารเท่านั น
                  ในพื นที่ป่าเสื่อมโทรมจ้าเป็นต้องฟื้นฟูให้กลับเป็นพื นที่ป่าไม้ร่วมกับจัดระบบการอนุรักษ์ดินและน ้า ในกรณี

                  ที่ต้องใช้ประโยชน์ทางการเกษตรควรปฏิบัติเช่นเดียวกันกับพื นที่ลาดเท 20 - 35 เปอร์เซ็นต์ และต้องใช้
                  มาตรการวิธีพืช และวิธีกลผสมผสานกัน เช่น การท้าขั นบันไดดิน คันคูรับน ้ารอบเขา การปลูกหญ้าแฝก
                  เพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้า และปรับปรุงบ้ารุงดิน การจัดการดินเฉพาะหลุมเพื่อปลูกไม้ผล

                               มาตรการอนุรักษ์ดินและน ้า โดยทั่วไปแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ มาตรการวิธีกลและมาตรการ
                  วิธีพืช ซึ่งมีข้อจ้ากัดในการใช้งานที่แตกต่างกันตามลักษณะพื นที่ความลาดเท ปริมาณน ้าฝน ปริมาณน ้าไหลบ่า

                  ชนิดของดิน เพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน ช่วยกักเก็บน ้าไหลบ่าไว้ในดินให้เป็นประโยชน์ต่อพืช
                  (กรมพัฒนาที่ดิน, 2556; 2558)
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34