Page 28 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 28
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
3) พื นที่รับน ้า
มีลักษณะเป็นพื นที่เนินซึ่งถูกเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากป่าธรรมชาติ
มาเป็นการปลูกพืชไร่ เช่น มันส้าปะหลัง ท้าให้เสียสมดุลการใช้น ้าในพื นที่ เกิดการยกระดับของน ้าใต้ดินเค็ม
ในที่ลุ่มตามเชิงเนินขึ นมาใกล้ผิวดิน แนวทางการแก้ไขควรท้าเป็นระบบทั งบริเวณพื นที่เนินรับน ้าและพื นที่
ดินเค็มในที่ลุ่ม ควรปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์แล้วปลูกไม้ยืนต้นโตเร็ว เช่น ยูคาลิปตัส สะเดา หรือการปลูกแฝก
เป็นแถบสลับกับพืชไร่ เช่น ที่ อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
หากบนพื นที่เนินรับน ้ามีน ้าใต้ดินไม่เค็ม การน้าน ้านั นมาให้เกษตรกรใช้เพาะปลูกพืช
เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถลดระดับน ้าใต้ดินในที่ลุ่มได้ และยังท้าให้เกิดความมั่นคงทางอาหาร และเกษตรกร
มีรายได้เพิ่มขึ น
2.1.4 หลักการอนุรักษ์ดินและน ้า
หลักการอนุรักษ์ดินและน ้า (soil and water conservation) เป็นการใช้ประโยชน์ที่ดิน
หรือทรัพยากรดินและน ้าอย่างเหมาะสม ด้วยวิธีการที่ชาญฉลาดและคุ้มค่า โดยค้านึงถึงการรักษา
ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ท้าให้เกิดประโยชน์สูงสุดและยั่งยืน การน้ามาตรการอนุรักษ์ดินและน ้ามาใช้
เพื่อป้องกันและรักษาดินไม่ให้ถูกชะล้างพังทลาย ทั งพื นที่ที่มีความลาดเทต่้าจนถึงพื นที่ที่มีความลาดชันสูง
สามารถช่วยรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน เก็บรักษาธาตุอาหารที่จ้าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
ไม่ให้สูญหายไปกับตะกอนดินให้ดินร่วนซุย การระบายน ้าและอากาศดี เพิ่มความสามารถให้น ้าแทรกซึม
ผ่านลงดินได้ดีขึ น อีกทั งรักษาน ้าไว้ในดินและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น ้าในพื นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ต่อการเจริญเติบโตของพืชและคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร และสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างยั่งยืน
การวางแนวทางในการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขฟื้นฟูการชะล้างพังทลายของดินในพื นที่
เกษตรกรรม สามารถด้าเนินการได้โดยค้านึงถึงระดับความรุนแรงและความลาดชันของพื นที่ที่เกิดการชะล้าง
พังทลาย โดยมาตรการอนุรักษ์ดินและน ้าที่นิยมน้ามาปฏิบัติใช้ ได้แก่ มาตรการอนุรักษ์วิธีพืช (vegetative
conservation measures) และมาตรการอนุรักษ์วิธีกล (mechanical conservation measures) ซึ่งการเลือกใช้
มาตรการอนุรักษ์ใดนั น ควรพิจารณาปัจจัยส้าคัญของการชะล้างพังทลายของดิน คือ ฝนซึ่งมีทั งความเข้ม
ปริมาณ ขนาดของเม็ดฝน ทิศทาง ซึ่งไม่อาจควบคุมได้ ความยาวและความลาดชันของพื นที่ ลักษณะของเนื อดิน
สิ่งปกคลุมดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยเลือกวิธีการผสมผสานทั งวิธีกลและวิธีพืช ควบคู่กับการปรับปรุงบ้ารุงดิน
ที่ถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนน้ามาตรการด้านกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือนโยบายที่เกี่ยวข้องกับ
ทรัพยากรดินและที่ดินมาใช้เป็นเครื่องมือให้ทรัพยากรดินและที่ดินได้รับการอนุรักษ์ ปกป้อง คุ้มครอง ฟื้นฟู
และปรับปรุงบ้ารุงดิน เพื่อให้มีศักยภาพการผลิต เพิ่มผลผลิต เกื อหนุนสภาพแวดล้อมของระบบนิเวศ
และความหลากหลายทางชีวภาพ
2.1.5 มาตรการอนุรักษ์ดินและน ้า
ปัญหาความเสื่อมโทรมของดินมีสาเหตุพื นฐานจากการชะล้างพังทลายของดิน ซึ่งส่วนใหญ่
เกิดจากการใช้ที่ดินเพื่อกิจกรรมต่างๆ มีปริมาณการสูญเสียในระดับปานกลางถึงรุนแรงมาก รวมเป็นเนื อที่ถึง
107.69 ล้านไร่ หรือ 33.55 เปอร์เซ็นต์ของเนื อที่ทั งประเทศ ก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและ
มีผลกระทบต่อ การผลิตทางเกษตรกรรมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างยิ่ง นับตั งแต่การสูญเสียหน้าดิน
ที่มีธาตุอาหารและอินทรียวัตถุในดิน ตลอดจนความอุดมสมบูรณ์และความสามารถในการให้ผลผลิตของดิน
ลดลง ถึงระดับที่ไม่สามารถท้าการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส้าหรับแนวความคิดการอนุรักษ์ดินและน ้า
ในพื นที่เกษตรที่มีความลาดเทแตกต่างกันมีข้อพิจารณาที่ส้าคัญ ความลาดเทของพื นที่นับเป็นปัจจัยส้าคัญ