Page 33 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน







                               นอกจากนี  ยังมีมาตรฐานอนุรักษ์ดินและน ้าวิธีกลของกรมพัฒนาที่ดิน ดังนี

                               (1) คันดินมาตรฐาน ซึ่งได้ก้าหนดมาตรฐานของคันดินออกเป็น 6 แบบ ได้แก่ คันดินเบนน ้า
                  (diversion) คันดินเก็บกักน ้า (absorption bank) คันดินฐานกว้าง (broad based terrace) คันดินฐานแคบ

                  (narrow based terrace) และคันคูรับน ้าขอบเขา (hillside ditch) 2 ลักษณะที่ใช้กับพื นที่ที่มีความลาดเท
                  มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ทั งนี คันดินแต่ละแบบนั นผู้ใช้สามารถปรับรูปแบบของคันดินให้เหมาะสม
                  กับสภาพพื นที่ต่างๆ ได้ โครงสร้างมาตรฐานของคันดินแต่ละแบบ มีดังนี

                        มาตรการอนุรักษ์วิธีกล                             วิธีการปฏิบัติ

                  แบบที่ 1 คันดินเบนน ้า            ใช้เพื่อป้องกันน ้าไหลบ่าลงสู่พื นที่เกษตรกรรม เหมาะกับพื นที่ที่มี
                                                    ความลาดเทไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ มีปริมาตรดินขุด-ถม ประมาณ
                                                    2.4 ลูกบาศก์เมตร

                  แบบที่ 2 คันดินเก็บกักน ้า        ควรใช้กับพื นที่ดินร่วนปนทราย มีความลาดเทประมาณ 3-15
                                                    เปอร์เซ็นต์ ปริมาตรดินขุด-ถม ประมาณ 1.2 ลูกบาศก์เมตร

                  แบบที่ 3 เป็นคันดินฐานกว้าง       ควรใช้กับพื นที่ดินร่วนปนทราย มีความลาดเทไม่เกิน 8 เปอร์เซ็นต์
                                                    ปริมาตรดิน ขุด-ถม ประมาณ 1.5 ลูกบาศก์เมตร
                  แบบที่ 4 เป็นคันดินฐานแคบ         ควรใช้กับพื นที่ดินร่วนปนทรายที่มีความลาดเทประมาณ 3-15
                                                    เปอร์เซ็นต์ ปริมาตรดินขุด-ถม ประมาณ 0.6 ลูกบาศก์เมตร

                  แบบที่ 5 คันคูรับน ้าขอบเขา       ควรใช้กับพื นที่ที่มีความลาดเทไม่เกิน 35 เปอร์เซ็นต์ ปริมาตรดิน
                                                    ขุด-ถม ประมาณ 0.3 ลูกบาศก์เมตร

                  แบบที่ 6 คันคูรับน ้าขอบเขา       ควรใช้กับพื นที่ที่มีความลาดเทไม่เกิน 35 เปอร์เซ็นต์ ปริมาตรดิน
                                                    ขุด-ถม ประมาณ 0.2 ลูกบาศก์เมตร

                               (2) การปรับรูปแปลงนา ได้ก้าหนดลักษณะของการปรับปรุงแปลงนา เพื่อให้น้ามาใช้ประโยชน์
                  ทางการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี 3 ลักษณะ ดังนี
                                  (2.1) การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1 เป็นคันดินที่สร้างขึ นโดยให้ระดับของคันดินอยู่ระดับ

                  เดียวกัน เน้นให้มีการปลูกข้าวแบบเดิม แต่ก้าหนดให้มีการปรับโครงสร้างให้มีคันดินเพิ่มขึ น วัตถุประสงค์เพื่อ
                  เก็บกักน ้าที่ไหลบ่ามาไว้เป็นช่วงๆ มีลักษณะเหมือนคันนา บนคันนาสามารถปลูกพืชชนิดต่างๆ ได้ ความสูงและ
                  ความกว้างของคันนาหรือคันดินจะผันแปรไปตามลักษณะดิน พื นที่ดินและลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                  ปริมาณน ้าฝนที่ตกลงมาหรือปริมาณน ้าที่จะเก็บกักหรือระบายออก

                                  (2.2) การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 2 เน้นการปลูกข้าวร่วมกับไม้ผลชนิดอื่นๆ เพื่อกักเก็บ
                  น ้า ระบายน ้าและส่งน ้า ท้าการปรับโครงสร้างแปลงนาให้มีร่องน ้าโดยการขุดดินท้าเป็นคูแล้วเอาดินนั น
                  มาทับถมเป็นคันดิน ร่องน ้าที่ขุดมีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บกักน ้า ระบายน ้าและส่งน ้าในแปลงปลูก ส่วนบนคันดิน
                  ยังสามารถปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดต่างๆ เพื่อเป็นทางเลือกให้กับเกษตรกร ความลึกและความกว้างของคู

                  ที่จะขุดดินขึ นมาถมเป็นคันดินจะผันแปรไปตามลักษณะดิน
                                  (2.3) การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3 เป็นการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                  จากการท้านาเป็นการปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น โดยการขุดดินขึ นให้เป็นคูน ้าทั งสองด้าน แล้วน้าดินนั นมาถม
                  เป็นคันดิน วัตถุประสงค์เพื่อเก็บกักน ้าและระบายน ้าในพื นที่ราบและราบลุ่ม บนคันดินสามารถปลูกพืช

                  เศรษฐกิจ เช่น ไม้ผล ไม้ยืนต้นแบบแถวเดียว ขนาดของร่องปลูกไม้ผลจะผันแปรไปตามลักษณะดิน
                  การปรับรูปแปลงนาลักษณะนี สามารถออกแบบต่อเนื่องท้าเป็นแปลงใหญ่ๆ ได้
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38