Page 30 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 30
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
1) มาตรการอนุรักษ์วิธีกล (mechanical conservation measures) เป็นวิธีที่ใช้เครื่องมือ
ต่างๆ ปรับสภาพของพื นที่เพื่อลดความยาวและความลาดเทของพื นที่ โดยสร้างสิ่งกีดขวางลาดเทของพื นที่
และทิศทางการไหลของน ้า เพื่อช่วยควบคุมน ้าไหลบ่าหน้าดิน ชะลอและลดความเร็วของกระแสน ้า
ลดความสามารถในการเคลื่อนย้ายตะกอนดิน วิธีการนี นับว่าเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและน ้าที่ค่อนข้างถาวร
มีประสิทธิภาพสูง แต่ต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูงเช่นกัน รวมทั งต้องใช้เทคนิค ความรู้ แรงงาน เครื่องมือ
เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพพื นที่และปัจจัยต่างๆ ซึ่งมาตรการอนุรักษ์วิธีกลมีหลายวิธี ดังนี
มาตรการอนุรักษ์วิธีกล วิธีปฏิบัติ การใช้งาน
1) การไถพรวนตามแนวระดับ ไถพรวนไปตามแนวระดับขวาง - เพิ่มความซาบซึมน ้าของดินและรักษา
(contour tillage) ความลาดเทของพื นที่ ความชุ่มชื นในดิน
- เหมาะสมกับพื นที่ความลาดเท 2-8
เปอร์เซ็นต์ ความยาวของความลาดเท
ไม่เกิน 100 เมตร
- ในพื นที่ที่มีความแห้งแล้ง สามารถ
ใช้ร่วมกับมาตรการอื่น เช่น คันดิน
ขั นบันไดดิน
2) การยกร่องปิดหัวท้าย ยกร่องปลูกพืชเป็นสองทิศทาง - ช่วยเพิ่มการกักเก็บน ้า ลดปริมาณ
(tied ridging) คือ กลุ่มหนึ่งยกร่องใน น ้าไหลบ่า และลดการชะล้างพังทลาย
แนวตั งฉากกับความลาดเทท้า ของดิน
ให้เกิดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า - ควรใช้เสริมกับการปลูกพืชตามแนว
เล็กๆ เต็มพื นที่ ระดับในพื นที่ที่มีความลาดเท ดินเป็น
ดินทราย
- ปริมาณน ้าฝนไม่เกิน 800 มิลลิเมตร
จะช่วยเพิ่มปริมาณความชื นให้แก่ดิน
แต่ถ้าสันร่องสูงมากและมีปริมาณ
ฝนตกมากก็ท้าให้เกิดปัญหาน ้าแช่ขัง
3) การยกร่องตามแนวระดับ ยกร่องปลูกพืชตามแนวระดับ - ช่วยเพิ่มการกักเก็บน ้าส้าหรับ
(ridging) โดยใช้ร่องน ้าเป็นตัวแปรสันดิน การปลูกพืช
- เหมาะกับพื นที่ที่มีความลาดเทไม่เกิน
12 เปอร์เซ็นต์ พื นที่ค่อนข้างแห้งแล้ง
และมีปริมาณน ้าฝนน้อย
4) การท้าร่องน ้าตามแนว ขุดร่องน ้าเดี่ยวๆ ขวางความ - เพื่อระบายน ้าส่วนเกินลงสู่ทางน ้า และ
ระดับ (contour furrowing) ลาดเทของพื นที่ โดยจะลด ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
ระดับร่องน ้าหรือไม่ลดระดับ - เหมาะกับพื นที่ที่มีปริมาณน ้าไหลบ่า
ก็ได้ ความลึกของร่องน ้า 25-40 หน้าดินไม่มากนัก
เซนติเมตร หรือขึ นกับเนื อดิน
ส่วนระยะห่างของร่องน ้าขึ นกับ
ความลาดเทของพื นที่และ
ปริมาณน ้าไหลบ่า