Page 24 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน







                               4) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P) เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบ
                  ผลผลิตที่เกิดขึ นกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือความต้องการ/เป้าหมายที่ก้าหนดไว้ รวมทั งการพิจารณา

                  ในประเด็นของการยุบ เลิก ขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการและการประเมินผล เรื่องผลกระทบ (Impact) และ
                  ผลลัพธ์ (Outcomes) ของนโยบาย / แผนงาน / โครงการ โดยอาศัยข้อมูลจากการประเมินสภาวะแวดล้อม
                  ปัจจัยเบื องต้นและกระบวนการร่วมด้วย จะเห็นได้ว่า การประเมินแบบ CIPP เป็นการประเมินที่ครอบคลุม
                  องค์ประกอบของระบบทั งหมด ซึ่งผู้ประเมินจะต้องก้าหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินที่ครอบคลุมทั ง 4 ด้าน

                  ก้าหนดประเด็นของตัวแปรหรือตัวชี วัด ก้าหนดแหล่งข้อมูลผู้ให้ข้อมูล ก้าหนดเครื่องมือการประเมิน วิธีการ
                  ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ก้าหนดแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล และเกณฑ์การประเมินที่ชัดเจน

                                  เมื่อพิจารณาถึงช่วงเวลาของการประเมินผลโครงการ เพื่อจ้าแนกประเภทของการประเมินผล
                  โครงการโดยละเอียดแล้ว เราสามารถจ้าแนกได้ว่าการประเมินผลโครงการมี 4 ระยะดังต่อไปนี

                                  1) การประเมินผลโครงการก่อนการด้าเนินงาน (Pre-evaluation) เป็นการประเมินว่า
                  มีความจ้าเป็นและความเป็นไปได้ในการก้าหนดให้มีโครงการหรือแผนงานนั น ๆ หรือไม่ บางครั ง
                  เรียกการประเมินผล ประเภทนี ว่า การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) หรือการประเมิน
                  ความต้องการที่จ้าเป็น (Need Assessment)
                                  2) การประเมินผลโครงการขณะด้าเนินงาน (On-going Evaluation) เป็นการประเมินผล

                  โครงการเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการด้าเนินงาน (Monitoring) และการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ
                                  3) การประเมินผลโครงการเมื่อสิ นสุดการด้าเนินงาน (Post-evaluation) เป็นการประเมินว่า
                  ผลของการด้าเนินงานนั น เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่วางไว้หรือไม่

                                  4) การประเมินผลกระทบจาการด้าเนินโครงการ (Impact Evaluation) เป็นการประเมินผล
                  โครงการ ภายหลังจากการสิ นสุดการด้าเนิน โครงการหรือแผนงาน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบผล
                  การด้าเนินงานที่เกิดขึ น ซึ่งอาจจะได้รับอิทธิพลจากการมีโครงการหรือปัจจัยอื่น ๆ

                         2.1.2 การชะล้างพังทลายของดิน
                               2.1.2.1 ความหมายของการชะล้างพังทลายของดิน

                                      การชะล้างพังทลายของดิน ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 หมายความว่า

                  ปรากฎการณ์ซึ่งที่ดินถูกชะล้างกัดเซาะพังทลายด้วยพลังงานที่เกิดจากน ้า ลม หรือโดยเหตุอื่นใดให้เกิด
                  การเสื่อมโทรม สูญเสียเนื อดินหรือความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                                      นิพนธ์ (2545) กล่าวว่า การชะล้างพังทลายของดิน เป็นกระบวนการที่เกิดจากการ
                  ที่มีแรง ซึ่งอาจเกิดจากน ้า ลม หรือแรงโน้มถ่วงของโลก มากระท้าให้วัตถุธาตุหรือสารแตกแยกออกจากกัน
                  แล้วเคลื่อนย้ายอนุภาคของดินหรือสารหรือวัตถุดังกล่าวไปตกตะกอนทับถมอีกแห่งหนึ่ง

                                      พิทยากร (2551) การชะล้างพังทลายของดิน (soil erosion) คือ กระบวนการ

                  แตกกระจาย (detachment) และการพัดพา (transportation) ของดิน โดยตัวการกัดกร่อน (erosion
                  agents) ได้แก่ การชะล้างพังทลายโดยน ้า (water erosion) ซึ่งเป็นชนิดที่ส้าคัญในประเทศไทย และการ
                  ชะล้างพังทลายโดยลม (wind erosion)

                                      กรมพัฒนาที่ดิน (2558) การชะล้างพังทลายของดิน เกิดจากกระบวนการที่ส้าคัญ คือ

                  กระบวนการแตกกระจาย (detachment) เมื่อเม็ดฝนตกลงมากระแทกกับก้อนดิน ท้าให้ดินแตกเป็นเม็ดดิน
                  เล็กๆ ภายหลังที่เม็ดฝนกระแทกก้อนดินแล้วน ้าบางส่วนจะไหลซึมลงไปในดิน เมื่อดินอิ่มตัวจนน ้าไม่สามารถ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29