Page 26 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 26
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
เกิดความไม่สมดุลของธาตุอาหารพืช พืชเกิดอาการขาดน ้าและมีการสะสมไอออนที่เป็นพิษในพืชมากเกินไป
จนก่อให้เกิดความไม่สมดุลของธาตุอาหารพืช (อรุณี, 2546)
2.1.3.2 สาเหตุของการเกิดดินเค็ม
สาเหตุหลักของการเกิดดินเค็มคือ การมีแหล่งก้าเนิดความเค็มวางตัวรองรับอยู่ใต้
ผิวดินที่ส้าคัญได้แก่ ชั นเกลือหิน แร่โพแทช และชั นหินอมเกลือ ซึ่งพบสะสมตัวอยู่ในชั นหินของหมวดหิน
มหาสารคาม ชั นเกลือหินที่อยู่ใต้ดินเมื่อถูกยกตัวจะท้าให้เกิดโดมเกลือใต้ดินระดับตื น เนื่องจากเกลือ
มีคุณสมบัติละลายน ้าได้ดี เมื่อถูกน ้าบาดาลท้าละลายจึงถูกเคลื่อนย้ายในรูปของน ้าเค็มไปตามระบบการ
ไหลเวียนของน ้าบาดาลลงสู่พื นที่ลุ่มต่้า และน ้าเค็มใต้ดินเมื่อแทรกซึมขึ นมาตามช่องว่างของดินและ
มีการระเหย ท้าให้เกิดเป็นคราบเกลือปรากฏอยู่ตามผิวดิน ซึ่งเกลือส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของโซเดียมคลอไรด์
(กรมทรัพยากรธรณี, 2558)
พื นที่ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอยู่ประมาณร้อยละ 17 ของพื นที่
คิดเป็นเนื อที่ 17.8 ล้านไร่ พื นที่ดินเค็มจัดอยู่ประมาณ 1.5 ล้านไร่ เค็มปานกลางประมาณ 3.7 ล้านไร่ และเค็มน้อย
ประมาณ 12.6 ล้านไร่ (กรมทรัพยากรธรณี, 2558) การบริหารจัดการพื นที่ดินเค็มที่ด้าเนินการอยู่ในปัจจุบัน
เพื่อการฟื้นฟูและการป้องกันการแพร่กระจายดินเค็มเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีการปลูกพันธุ์ข้าว
ทนเค็ม การใช้สารปรับปรุงดินในรูปของอินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุ การใช้พืชปุ๋ยสดปลูกแล้วไถกลบลงในดิน
การปลูกไม้ยืนต้นตระกูลถั่วทนเค็ม ทั งหญ้าทนเค็ม การปลูกต้นกระถินออสเตรเลีย ซึ่งการใช้วิธีการเหล่านี
ไม่สามารถแก้ไขหรือปรับปรุง ดินเค็มได้อย่างถาวร เพียงแต่เป็นการลดความรุนแรงของปัญหาดินเค็ม แต่การฟื้นฟู
พื นที่ดินเค็มและการควบคุมป้องกันการเกิดและการแพร่กระจายดินเค็มอย่างมีประสิทธิภาพที่ถาวร สามารถ
กระท้าได้โดยการจ้าแนกพื นที่รับน ้าและพื นที่ให้น ้าที่อยู่ในพื นที่ลุ่มน ้าที่มีพื นที่ดินเค็มให้ชัดเจน พร้อมทั งจ้าแนก
ความรุนแรงของระดับความเค็มของดิน หาวิธีการป้องกันไม่ให้เกิดการเติมน ้าลงไปในแหล่งน ้าใต้ดินในบริเวณ
พื นที่รับน ้า และควบคุมระดับน ้าใต้ดินที่เค็มในบริเวณพื นที่ให้น ้าหรือพื นที่ดินเค็มให้อยู่ในระดับความลึกที่น ้า
ใต้ดินเค็มไม่สามารถเคลื่อนที่ขึ นมาระเหยบนบริเวณผิวดินหรือบริเวณรากพืชได้ด้วยการใช้วิธีการทางด้านพืช
เน้นการปลูกป่าในพื นที่รับน ้าด้วยการปลูกไม้ยืนต้นที่มีรากลึก เจริญเติบโตได้รวดเร็วและใช้น ้า ส่วนวิธีการ
ทางวิศวกรรมนั น จัดเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการฟื้นฟูพื นที่ดินเค็ม ด้วยการก่อสร้างทางระบายน ้า
ทั งระบบระบายน ้าผิวดินและระบบระบายน ้าเค็มใต้ดิน เพื่อที่จะระบายน ้าเค็มใต้ดินให้ลดระดับความเค็มลงไป
ในระดับความลึกที่ต้องการ
2.1.3.3 การแบ่งพื นที่ดินเค็ม
พื นที่ดินเค็มภาคตะวันอกเฉียงเหนือ แบ่งได้ 4 พื นที่ คือ
1) ดินเค็มมาก หมายถึง บริเวณที่พบคราบเกลือตามผิวดิน กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป
เป็นปริมาณมากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ของพื นที่ส่วนใหญ่ พื นที่นี จะปลูกพืชไม่ค่อยได้ มักปล่อยทิ งร้าง
การปรับปรุงแก้ไขต้องลงทุนสูง
2) ดินเค็มปานกลาง หมายถึง บริเวณที่พบคราบเกลือกระจัดกระจายตามผิวดิน
เป็นปริมาณ 1 ถึง 10 เปอร์เซ็นต์ของพื นที่ พื นที่พอจะปลูกพืชได้ผลผลิตต่้า
3) ดินเค็มน้อย หมายถึง บริเวณที่พบคราบเกลือกระจัดกระจายตามผิวดินปริมาณ
น้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ของพื นที่ น ้าใต้ดินเป็นน ้ากร่อยหรือน ้าเค็ม แต่จะลึกมากกว่า 2 เมตร จากผิวดิน บริเวณนี
ส่วนใหญ่ใช้ท้านา