Page 34 - รายงาน ผลของการใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อเร่งการย่อยสลายตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ Effect of using biological products for accelerating the degradation of maize stubble
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          28








                                      - ปรับความชื้นในดินที่ 30 เปอร์เซ็นต์ ด้วยน้ำนึ่งฆ่าเชื้อ
                                      ตำรับการทดลองที่ 3
                                     - นำดิน 4 กิโลกรัม ผสมตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10 กรัม
                                     - ใส่ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลส อัตรา 25 กรัม ต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่

                                     - ปรับความชื้นในดินที่ 30 เปอร์เซ็นต์ ด้วยน้ำนึ่งฆ่าเชื้อ
                                      ตำรับการทดลองที่ 4
                                      - นำดิน 4 กิโลกรัม ผสมตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10 กรัม
                                      - ใส่ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลส อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่

                                      - ปรับความชื้นในดินที่ 30 เปอร์เซ็นต์ ด้วยน้ำนึ่งฆ่าเชื้อ
                                      ตำรับการทดลองที่ 5
                                      - นำดิน 4 กิโลกรัม ผสมตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10 กรัม
                                     - ใส่ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ผสมเอนไซม์เซลลูเลส อัตรา 100 กรัม ต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่

                                     - ปรับความชื้นในดินที่ 30 เปอร์เซ็นต์ ด้วยน้ำนึ่งฆ่าเชื้อ
                                      ตำรับการทดลองที่ 6
                                      - นำดิน 4 กิโลกรัม ผสมตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10 กรัม

                                     - ใส่ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลส 25 กรัม ต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่
                                     - ปรับความชื้นในดินที่ 30 เปอร์เซ็นต์ ด้วยน้ำนึ่งฆ่าเชื้อ
                                      ตำรับการทดลองที่ 7
                                      - นำดิน 4 กิโลกรัม ผสมตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10 กรัม
                                      - ใส่ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลส 50 กรัม ต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่

                                      - ปรับความชื้นในดินที่ 30 เปอร์เซ็นต์ ด้วยน้ำนึ่งฆ่าเชื้อ
                                      ตำรับการทดลองที่ 8
                                      - นำดิน 4 กิโลกรัม ผสมตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10 กรัม

                                      - ใส่ผลิตภัณฑ์เอนไซม์เซลลูเลส 100 กรัม ต่อน้ำ 50 ลิตรต่อไร่
                                      - ปรับความชื้นในดินที่ 30 เปอร์เซ็นต์ ด้วยน้ำนึ่งฆ่าเชื้อ
                                 4)  การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ตัวอย่าง
                                      4.1)  การเก็บตัวอย่างดินจากในพื้นที่แปลงทดสอบ ที่ระดับความลึก 0 - 15 เซนติเมตร

                  ไปผึ่งให้แห้งในที่ร่ม จากนั้นบดละเอียดและผสมคลุกเคล้าดินให้มีความสม่ำเสมอ นำดินส่วนหนึ่งมาร่อนผ่าน
                  ตะแกรง 2 มิลลิเมตร วิเคราะห์สมบัติทางเคมีดิน ได้แก่ ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุ
                  ในดิน ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน
                                      4.2)  การเก็บตัวอย่างดินจากกระถางภายหลังการหมักดิน ที่ 10  20  30  40 และ 50 วัน

                  นำดินในกระถาง 200 กรัม ไปผึ่งให้แห้งในที่ร่ม จากนั้นบดละเอียดและผสมคลุกเคล้าดินให้มีความสม่ำเสมอ นำ
                  ดินมาร่อนผ่านตะแกรง 2 มิลลิเมตร วิเคราะห์สมบัติทางเคมีดิน ได้แก่ ปริมาณอินทรียวัตถุของดิน
                                      4.3)  การวิเคราะห์ปริมาณเชื้อรา
                                            การเก็บตัวอย่างดินจากกระถางภายหลังการหมักดิน ที่ 10  20  30  40 และ 50 วัน

                  นำดินในกระถาง 100 กรัม เก็บใส่ถุงแช่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส และนำมาตรวจนับปริมาณเชื้อรา ด้วยวิธี
                  Microbiological method ตรวจนับจำนวนจุลินทรีย์ โดยวิธี dilution plate count บนอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดแข็ง
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39