Page 51 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 51

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           40







                       การเลือกปลูกพันธุ์ยางใน กลุ่มนี  ควรมุ่งเน้นผลผลิตน  ายาง กลุ่ม 2 พันธุ์ยางผลผลิตน  ายางและเนื อไม้สูง
                       เป็นพันธุ์ที่ให้ทั งผลผลิตน  ายางและเนื อไม้ โดยให้ ผลผลิตน  ายางสูงและมีการเจริญเติบโตดี ลักษณะล าต้น
                       ตรง ให้ปริมาตรเนื อไม้ในส่วนล าต้น สูง กลุ่ม 3 พันธุ์ยางผลผลิตเนื อไม้สูง เป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตเนื อไม้สูง
                       เป็นหลัก มีการเจริญเติบโตดีมาก ลักษณะล าต้นตรง ให้ปริมาตรเนื อไม้ในส่วนล าต้นสูงมาก ผลผลิตน  ายาง

                       จะอยู่ในระดับต่ ากว่าพันธุ์ยางในกลุ่มที่ 1 และ 2 เหมาะส าหรับเป็นพันธุ์ที่จะปลูกเป็นสวนป่าเพื่อการผลิต
                       เนื อไม้ ซึ่งพันธุ์ยางพาราที่เหมาะส าหรับปลูกในภาคตะวันตก ได้แก่ ยางพาราพันธุ์ RRIM 600 BPM 24
                       และ RRIT 25 (บัญชา และคณะ, 2561)
                                   1.1)  พันธุ์ RRIM 600 ใบมีรูปร่างป้อมปลายใบ สีเขียวอมเหลือง ลักษณะฉัตรใบเป็นรูป

                       กรวย มีขนาดเล็ก ในระยะ 2 ปีแรกต้นยางจะมีลักษณะล าต้นตรงแต่เรียวเล็ก การแตกกิ่งช้า  ลักษณะการ
                       แตกกิ่งเป็นมุมแหลม กิ่งที่แตกค่อนข้างยาว ทรงพุ่มมีขนาดปานกลางเป็นรูปพัด เริ่มผลัดใบเร็ว นระยะ
                       ก่อนเปิดกรีดและระหว่างกรีดการเจริญเติบโตปานกลาง เปลือกเดิมบาง เปลือกงอกใหม่หนาปานกลาง
                       ผลผลิตระยะแรกอยู่ในระดับปานกลาง  แต่จะเพิ่มขึ นเรื่อยๆ ในปีต่อมาให้ผลผลิตเนื อยาง 10 ปีกรีดเฉลี่ย

                       289 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี อ่อนแอมากต่อโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื อไฟทอปโทราและโรคเส้นด า ต้านทานโรค
                       ราแป้งและโรคใบจุดนูนระดับปานกลาง อ่อนแอต่อโรคราสีชมพู ต้านทานลมระดับปานกลาง ารปรับตัว
                       และให้ผลผลิตได้ดีในเกือบทุกพื นที่ ทนทานต่อการกรีดถี่ได้มากกว่าพันธุ์อื่นๆ และมีจ านวนต้นแสดง

                       อาการเปลือกแห้งน้อย ปลูกได้ในพื นที่ทั่วไป ยกเว้นในพื นที่ที่มีโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื อไฟทอปโทรา เส้น
                       ด า และโรคราสีชมพูระบาดรุนแรง พื นที่ที่มีหน้าดินตื น และพื นที่ที่มีระดับน  าใต้ดินสูง
                                   1.2) พันธุ์ BPM 24 ใบมีรูปร่างป้อมกลางใบ สีเขียว ฉัตรใบลักษณะเป็นรูปกรวยตัด
                       ลักษณะล าต้นตรง แตกกิ่งมาก กิ่งมีขนาดปานกลาง มีการทิ งกิ่งน้อย พุ่มใบค่อนข้างทึบ ทรงพุ่มมีขนาด
                       ปานกลางเป็นรูปกรวย เริ่มผลัดใบเร็วและทยอยผลัดใบ ระยะก่อนและระหว่างกรีดเจริญเติบโตปานกลาง

                       ความสม่ าเสมอของล าต้น ทั งแปลงปานกลาง เปลือกเดิมหนามาก เปลือกงอกใหม่หนาปานกลาง เปลือก
                       เรียบและกรีดง่าย ผลผลิตเนื อยางแห้ง 10 ปี กรีดเฉลี่ย 335 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600
                       ร้อยละ 41 มีจ านวนต้นเปลือกแห้งปานกลาง ต้านทานโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื อไฟทอปโทราและเส้นด า

                       ระดับดี ต้านทาน โรคราแป้ง โรคใบจุดนูนและโรคราสีชมพูระดับปานกลาง ต้านทานลมระดับ ปานกลาง
                       ผลผลิตเนื อยางพาราสูงมากในระยะแรกของการเปิดกรีด เปลือกหนา เรียบท าให้ กรีดง่าย ความต้านทาน
                       โรคส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี  โดยเฉพาะโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื อไฟทอปโทรา และโรคเส้นด า ปลูกได้ในพื นที่
                       ทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื นที่ที่มีการระบาดรุนแรงของโรค ใบร่วงไฟทอปโทราและโรคเส้นด า และ

                       สามารถปลูกได้ใน พื นที่ลาดชัน พื นที่ที่มีหน้าดินตื น พื นที่ที่มีระดับน  าใต้ดินสูง
                                   1.3) พันธุ์ RRIT 25 ใบมีรูปร่างป้อมปลายใบ ขอบใบเป็นคลื่น ใบมีสีเขียว ฉัตรใบมีขนาด
                       ใหญ่เป็นรูปกรวย ในช่วงยางอ่อนล าต้นคด แตกกิ่งมากทั งกิ่งขนาดกลางและขนาดใหญ่ การแตกกิ่งไม่
                       สมดุล ทรงพุ่มมีขนาดใหญ่เป็นรูปกลม เริ่มผลัดใบค่อนข้างช้า ระยะก่อนและระหว่างกรีดเจริญเติบโตปาน

                       กลาง ขนาดล าต้นทั งแปลงมีความสม่ าเสมอดี ท าให้มีจ านวนต้นเปิดกรีดได้มาก เปลือกเดิมและเปลือก
                       งอกใหม่หนาปานกลาง ผลผลิตเนื อยาง 10 ปีกรีดเฉลี่ย 457 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี  สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56