Page 48 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           37







                       ของดินมากนัก แต่ดินปลูกที่เป็นดินเนื อหยาบ เช่น ดินทรายชายทะเลมักมีการระบายน  าดีเหมาะกว่า
                       ดินที่มีเนื อละเอียด เช่น ดินเหนียวซึ่งระบายน  าได้ยาก ดินที่ปลูกสับปะรดเป็นดินร่วนหรือร่วนปนทราย
                       ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง มีอินทรียวัตถุไม่ต่ ากว่า 1.5 เปอร์เซ็นต์ ความลาดเอียง 1 - 2 เปอร์เซ็นต์
                       การระบายน  าและถ่ายเทอากาศดี ระดับหน้าดินลึกไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร ค่าความเป็นกรดด่าง

                       ของดิน 4.5 - 5.5 และไม่ควรสูงกว่า 7.0  (สถาบันวิจัยพืชสวน, 2560)
                                   2.2) ช่วงเวลาปลูก
                                        การปลูกสับปะรดสามารถปลูกได้แบบปลูกแบบเชิงเดี่ยว และปลูกเป็นพืชแซมในสวน
                       ยางพาราเนื่องจากสับปะรดเป็นพืชที่ไม่ต้องการน  าในการเจริญเติบโตมากนัก สามารถปลูกได้ตลอดทั งปี

                       การปลูกในฤดูฝน ต้องฝังหน่อให้เอียง 45 องศา เพื่อป้องกันน  าขังในยอด แต่ถ้าปลูกในฤดูแล้งฝังหน่อให้
                       ตั งตรง การปลูกส่วนใหญ่ใช้ ระบบแถวคู่ ระยะปลูกแตกต่างกันไปตามความเหมาะสมของแต่ละพื นที่
                       สับปะรดเป็นพืชหลายฤดู จึงต้องเตรียมพื นที่ปลูกอย่างดีให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโต โดยพื นที่ที่เคย
                       ปลูกสับปะรดให้สับใบและต้นสับปะรดแล้วตากทิ งไว้ 2-3 เดือน หลังจากนั นไถดินตากดินทิ งไว้ 7-10 วัน

                       แล้วพรวนดินอีก 1 ครั ง แล้วคราดเศษรากเง้า ตอเก่าสับปะรดและวัชพืชทุกชนิดที่เหลือออกไปท าลาย
                       นอกแปลง ท าแนวปลูกหรือยกแนวให้สูงประมาณ 15 เซนติเมตร เพื่อป้องกันการชะล้างของดิน การ
                       เตรียมพันธุ์ มีการคัดขนาดหน่อพันธุ์และจุกพันธุ์ก่อนปลูก โดยใช้หน่อพันธุ์ หรือจุกพันธุ์ ที่มีขนาด

                       สม่ าเสมอ หรือใกล้เคียงกัน อัตราการปลูก 7,000-10,000 หน่อต่อไร่ (สถาบันวิจัยพืชสวน, 2560)
                                  การเปลี่ยนแปลงด้านชีพลักษณ์ของสับปะรด
                                  โดยทั่วไปการเจริญเติบโตของสับปะรดแบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ 1.การเจริญเติบโตในระยะ
                       ก่อนออกดอก 2. การเจริญเติบโตในระยะหลังการออกดอก และ 3. การเจริญเติบโตของหน่อที่เกิดจากตา
                       ที่มุมใบบนต้นเดิม แต่เนื่องจากสับปะรดเป็นพืชหลายฤดู การเจริญเติบโตในแต่ละระยะที่ต่อเนื่องกัน

                       อาจจะมีช่วงเวลาที่ซ้อนทับกันได้บ้าง เช่นเมื่อสับปะรดสร้างดอกและผล การเจริญของใบก็ยังด าเนินไปได้
                       อีกระยะหนึ่ง หรือหน่อจากตาข้างอาจจะเริ่มมีการเจริญเติบโตโดยที่ผลยังไม่ถึงระยะสุกแก่ การ
                       เจริญเติบโตในระยะต่างๆ และช่วงเวลาที่ซ้อนทับกันรวมไปถึงผลผลิตและคุณภาพของผลผลิตขึ นอยู่กับ

                       อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก (จินดารัฐ, 2541) สับปะรดเป็นพืชที่มีอายุตั งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว
                       นานประมาณ 15 – 18 เดือน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงชีพลักษณ์ของสับปะรดอายุตั งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว
                       แสดงดังภาพที่ 7 ได้แก่ ระยะ foliation ระยะ inflorescence ระยะ flowering ระยะ fructification
                       และระยะ Marturity และเนื่องจากสับปะรดหลังจากเก็บเกี่ยวผลจากต้นที่ปลูกครั งแรก (plant crop)

                       สามารถไว้หน่อและเก็บผลผลิตได้อีก 1 - 2 รุ่น (First and Second ratoon crop) ซึ่งช่วงระยะเวลา
                       ตั งแต่การปลูกครั งแรกจนถึงเก็บเกี่ยวหน่อรุ่นสุดท้ายและเตรียมการปลูกครั งต่อไปในพื นที่เดิมเรียกว่า
                       รอบการปลูก (crop cycle) มี 2 แบบ (สถาบันวิจัยพืชสวน, 2560) ได้แก่
                                  1) รอบการปลูก 4 ปี ไว้หน่อครั งเดียว โดยจะเก็บผล 2 รุ่น คือ ผลจากต้นแม่ (plant crop)

                       และเก็บผลจากหน่อรุ่นแรก (first ratoon crop) (ภาพที่ 8)
                                  2) รอบการปลูก 5 ปี ไว้หน่อ 2 รุ่น และสามารถเก็บผลผลิตได้ 3 รุ่น (ภาพที่ 9)
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53