Page 52 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           41







                       ร้อยละ 57 มีจ านวนต้นเปลือกแห้งน้อย ต้านทานโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื อไฟทอปโทรา โรคราแป้ง โรคใบ
                       จุดนูน และโรคราสีชมพูระดับปานกลาง ต้านทานโรคเส้นด าระดับดี และต้านทานลมระดับปานกลาง
                       ผลผลิตเนื อยางสูงมาก  มีจ านวนต้นเปิดกรีดได้มาก  ต้านทานโรคเส้นด าในระดับดี มีจ านวนต้นเปลือก
                       แห้งน้อย ปลูกได้ในพื นที่ทั่วไป ยกเว้นพื นที่ลาดชัน พื นที่ที่มีหน้าดินตื น พื นที่ที่มีระดับน  าใต้ดินสูง และ

                       พื นที่ลมแรง เนื่องจากทรงพุ่มมีขนาดใหญ่ แตกกิ่งไม่สมดุล
                               2) ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต่อการเจริญเติบโตของยางพารา
                                  2.1) สภาพแวดล้อมทั่วไป
                                      ต้นยางพาราชอบขึ นในดินร่วน ซึ่งมีการระบายน  าใต้ผิวดินดี และดินนั นควรมีความเป็น

                       กรดด่าง ระหว่าง ๔-๕.๕ ต้องการฝนพอสมควร ประมาณ ๒,๐๐๐-๒,๕๐๐ มิลลิเมตร ฝนควรตก
                       สม่ าเสมอทุกเดือน เพราะยางพาราต้องการความชื นสูง อุณหภูมิอยู่ในระดับ ๗๕-๘๐ องศาฟาห์เรนไฮต์
                       พื นที่ปลูกควรอยู่ในระหว่างเส้นขนาน ๒๘ องศาเหนือ และ ๒๘ องศาใต้ เช่นเดียวกันกับที่ขึ นอยู่ใน
                       อเมริกากลาง และอเมริกาใต้อันเป็นถิ่นเดิม ไม่ควรปลูกในที่สูงกว่า ระดับน  าทะเล ๑,๐๐๐ ฟุต รากของ

                       ต้นยางมีรากแก้วค่อนข้างตื น ลึกลงไปไม่เกิน ๑.๕-๒ เมตร มีรากเล็กแผ่หากินไปตามผิวดินเป็นส่วนใหญ่
                       ที่ใดมีลมจัดมักจะล้มง่าย ต้นยางพาราทั งที่ปลูกด้วยเมล็ด หรือต้นติดตา จะกรีดเอาน  ายางได้ตั งแต่อายุ ๕-
                       ๖ ปี ขึ นไป ถ้ากรีดเปลือกด้วยความระมัดระวังสามารถกรีดได้มากกว่า ๓๐ ปี

                                        2.2) ช่วงเวลาปลูก
                                            ควรเตรียมพื นที่ส าหรับปลูกยางพาราโดยเก็บไม้ออกจากบริเวณพื นที่ให้
                       เรียบร้อย  ท าการไถพรวนดินและวางแนวขุดหลุมปลูก  หากผสมปุ๋ยอินทรีย์รองก้นหลุมด้วยควรจะ
                       ด าเนินการให้เสร็จก่อนจะปลูกยางในช่วงฤดูฝน 1 เดือน และควรปลูกในช่วงต้นฤดูฝน ระหว่างเดือน
                       พฤษภาคม – กรกฎาคม โดยจะเริ่มปลูกในเดือนพฤษภาคม เมื่อพื นที่มีความชื นเพียงพอ โดยปลูกต้นยาง

                       ช าถุง และการปลูกต้นตอควรให้มีความชื นเต็มที่ในขณะปลูกไม่น้อยกว่า 2 เดือน โดยหันแผ่นตาไปทางทิศ
                       ตะวันตก ให้รอยต่อระหว่างรากกับตาอยู่เหนือระดับผิวดินเล็กน้อย หลังปลูก 15 วัน ถึง 1 เดือนควรมีการ
                       ปลูกซ่อม โดยต้องปลูกซ่อมให้เสร็จก่อนจะหมดฤดูฝนอย่างน้อย 2 และไม่ควรปลูกซ่อมเมื่อต้นยางอายุ ๒

                       ปีขึ นไป แต่ถ้าจะปลูกซ่อมควรใช้ต้นยางที่มีอายุใกล้เคียงกัน (ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก
                       พระราชด าริ, 2555)
                               3) การเปลี่ยนแปลงด้านชีพลักษณ์ของยางพารา
                                  ยางพาราเป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ มีอายุยาวนานหลายร้อยปี เช่นในป่าลุ่มน  าอะเมซอนพบ

                       ยางพารามีขนาดล าต้นวัดโดยรอบได้กว่า ๓ เมตร ถ้าเป็นต้นที่สมบูรณ์ และอยู่ในที่ที่ระบายน  าได้ดี จะมี
                       ความสูงถึง ๔๐ เมตร แต่ต้นที่เอามาปลูกในทวีปเอเชียเล็กลงมาก ล าต้นของต้นที่ปลูกด้วยเมล็ดจะโต
                       ประมาณ ๑-๒ เมตร และถ้าเป็นต้นติดตา ล าต้นจะโตไม่เกิน ๑ เมตร ส่วนความสูงก็ลดลงเหลือเพียง
                       ประมาณ ๑๕-๒๐ เมตรเท่านั น ต้นยางมีเปลือกที่น  ายางจะไหลออกได้หนาประมาณ ๖.๕-๑๕ มิลลิเมตร

                       ทรงต้นที่สมบูรณ์มักจะสูง ชะลูด กิ่งแยกมักแยกตั งขึ นไปประมาณ ๔๕ องศาจากล าต้น ใบมักจะรวมเป็น
                       พุ่มที่ส่วนปลายของกิ่ง แต่ละก้านใบแยกออกเป็น ๓ ใบ แต่ละใบใน ๓ ใบกว้างประมาณ ๕-๑๐ เซนติเมตร
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57