Page 46 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           35







                           3.1.4 การศึกษาการเจริญเติบโตของสับปะรด
                                 สับปะรดเป็นพืชเศรษฐกิจส าคัญสร้างมูลค่าการส่งออกให้กับประเทศไทย 23,000 - 25,000
                       ล้านบาทต่อปี และไทยเป็นผู้ผลิตสับปะรดรายใหญ่ของโลก คือ ส่งออกประมาณร้อยละ 12 ของผลผลิตทั ง
                       โลก ส่วนใหญ่เป็นการส่งออกสับปะรดผลิตภัณฑ์ ส่วนสับปะรดผลสดนับว่ามีปริมาณและมูลค าน้อยมากเมื่อ

                       เปรียบเทียบกับปริมาณและมูลค่าการส่งออกสับปะรดทั งหมด ซึ่งการผลิตสับปะรดของเกษตรกรยังพบ
                       ปัญหาหลายด้าน เช่น ผลผลิตต่อไร่ต่ า ต้นทุนการผลิตสูงขึ น ขาดพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงและคุณภาพดีกว่าพันธุ์
                       เดิม ปัญหาการแพร่ระบาดของโรค คุณภาพผลผลิตไม่สม่ าเสมอ การกระจายการผลิตไม่สอดคล้องกับความ
                       ต้องการของโรงงาน การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ การกระจายตัวของฝนไม่สม่ าเสมอ เกิดภาวะแล้ง

                       ยาวนานท าให้ผลผลิตตกต่ าและไม่ได้มาตรฐาน ปัจจัยต่างๆ เหล่านี เป็นอุปสรรคส าคัญของการผลิต
                       สับปะรด (หัทยา และ ปุณณมี, 2559; สถาบันวิจัยพืชสวน, 2560) ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของ
                       สับปะรด มี 2 ปัจจัย คือ
                                 1) ปัจจัยทางด้านพันธุกรรมสับปะรด (สถาบันวิจัยพืชสวน, 2560)

                                   สับปะรดที่ปลูกทั่วโลกมีหลายชนิด แต่ละชนิดหรือแต่ละพันธุ์จะมีลักษณะเด่นเฉพาะตัว
                       แตกต่างกันไป การจัดจ าแนกลักษณะความแตกต่างของสับปะรด จัดแบ่งสับปะรดได้ 5 กลุ่ม คือ กลุ่ม Smooth
                       cayenne กลุ่ม Queen กลุ่ม Spanish กลุ่ม Maipure หรือ Perolera และกลุ่ม Abacaxi หรือ Pernambuco

                       โดยสับปะรดในแต่ละกลุ่มพันธุ์จะมีคุณลักษณะแตกต่างกัน ส าหรับในประเทศไทยได้มีการจัดกลุ่มโดยยึดเกณฑ์
                       มาตรฐานของ IBPGR ปี 1991 สามารถจัดแบ่งเป็น 3 กลุ่มพันธุ์ (สถาบันวิจัยพืชสวน, 2560) คือ
                                   1.1) กลุ่ม Smooth cayenne มี 3 พันธุ์/สายพันธุ์ คือ ปัตตาเวีย นางแล ลักกะตา พันธุ์สับปะรด
                       กลุ่มนี เป็นกลุ่มที่นิยมปลูกมากที่สุด ทั งเพื่อใช้บริโภคสดและใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋องพันธุ์
                       สับปะรดในกลุ่มนี ผลมีขนาดประมาณ 1.0 - 2.5 กิโลกรัม รูปร่างค่อนข้างเป็นทรงกระบอก เนื อมีสีเหลือง มีเยื่อใย

                       (fiber) ซึ่งพันธุ์สับปะรดในกลุ่ม Smooth cayenne ในประเทศไทยคือ พันธุ์ปัตตาเวีย นางแล ลักกะตา น้าผึ ง
                       และโนห์รา โดยพันธุ์ที่ส าคัญในอุตสาหกรรมแปรรูปของไทยคือ พันธุ์ปัตตาเวีย พันธุ์นี จะมีใบสีเขียวเข้มและมีสี
                       ม่วงแดงอมน  าตาลปนอยู่บริเวณกลางใบ ผลจะมีขนาดใหญ่และน  าหนักมากกว่าพันธุ์อื่นๆ ด้านคุณภาพผล เนื อมี

                       รสชาติหวานอมเปรี ยว สับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย จัดอยู่ในกลุ่ม Smooth cayenne เป็นพันธุ์ที่นิยมปลูกมากที่สุด
                       และส่วนใหญ่มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ใช้ในอุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋องแต่ยังมีคุณสมบัติที่เหมาะสมส าหรับ
                       การบริโภค
                                   1.2) กลุ่ม Queen มี 5 พันธุ์/สายพันธุ์ คือ ตราดสีทอง ภูเก็ต สวี ปัตตานี และสิงคโปร์

                       ปัตตาเวีย พันธุ์สับปะรดกลุ่มนี มีขนาดของต้นและผลเล็กกว่ากลุ่ม smooth cayenne ขอบใบมีหนามเรียงชิด
                       ติดกันตลอดความยาวใบ น  าหนักผล ประมาณ 1.0 กิโลกรัม รูปร่างทรงกระบอก ตาค่อนข้างนูน เปลือกหนา
                       เนื อมีสีเหลือง เข้มและกรอบ รสชาติหวาน มีเยื่อใยน้อยและมีกลิ่นหอม แกนผลอ่อนนุ่มกว่า
                       พันธุ์ปัตตาเวีย สับปะรดกลุ่มนี ในประเทศไทย ได้แก่ พันธุ์ภูเก็ต (จังหวัดเชียงราย เรียกว่า พันธุ์ภูแล) พันธุ์สวี

                       พันธุ์ตราดสีทอง พันธุ์ปัตตานี และพันธุ์สิงคโปร์ปัตตาเวีย
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51