Page 53 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 53

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           42







                       และยาวประมาณ ๑๐-๒๐ เซนติเมตร (มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน, ม.ป.ป.) ยางพารา
                       เป็นไม้ยืนต้นอายุหลายปีโตเต็มที่พร้อมให้น  ายางเก็บเกี่ยวได้เมื่ออายุ 5-7 ปี เมื่อยางมีอายุเต็มที่ ต้นยางจะ
                       เริ่มพฤติกรรมหลบหนาวทุกปี ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี เป็นลักษณะทางชีพลักษณ์ที่ส าคัญของยางพารา คือ
                       ใบไม้จะร่วงในช่วงเดือนที่อากาศแห้งก่อนที่จะมีใบไม้สดเข้ามาแทนที่ก่อนที่จะร่วง ใบสีเขียวเข้มที่ปกติ

                       แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีน  าตาลเหลืองก่อนที่จะร่วงหล่น ใช้เวลาประมาณสามถึงสี่สัปดาห์ และระบุถึงการ
                       สิ นสุดของฤดูปลูก ในระยะผลัดใบจะแตกใบใหม่และขยายออก ถือเป็นการเริ่มต้นฤดูปลูก การ
                       เปลี่ยนแปลงของความหนาแน่นของเรือนยอดนั นน่าทึ่งมาก และแสดงไว้ในภาพที่ 10 ภาพถ่ายทางอากาศ
                       เหนือทรงพุ่มของยางพาราแสดงการเปลี่ยนแปลงสีของใบซึ่งบ่งบอกถึงอายุหรือความแก่ของใบ และการ

                       ร่วงหล่นอย่างรุนแรง การเกิดใบใหม่ออกมาจะเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีเขียว ซึ่งการเกิดการเปลี่ยนแปลงชีพ
                       ลักษณ์การผลัดใบนี  กระบวนการทั งหมดของการร่วงหล่นและการผลัดใบจะใช้เวลาประมาณหกถึงแปด
                       สัปดาห์ และเกิดขึ นในฤดูแล้ง โดยทั่วไปคือเดือนพฤษภาคมถึงกันยายน ส าหรับเกาะสุมาตราใต้ ประเทศ
                       อินโดนีเซีย เมแทบอลิซึมของพืชได้รับผลกระทบอย่างมากในช่วงเวลานี  โดยผลผลิตน  ายางจะลดลงถึง

                       ร้อยละ 60 จากจุดสูงสุด ระยะฟีโนโลยีในช่วงฤดูหนาวได้รับอิทธิพลอย่างมากจากปัจจัยทางภูมิอากาศ
                       นอกจากช่วงเวลานี แล้ว ต้นไม้ยังมีใบเต็มทรงพุ่มตลอดทั งปี (Azizan et al., 2021)

















                          ภาพที่ 11 การเปลี่ยนแปลงด้านชีพลักษณ์ระยะการผลัดใบของยางพารา

                          ที่มา: Azizan et al. (2021)

                               3.1.6 การศึกษาการเจริญเติบโตของปาล์มน  ามัน
                                     ปาล์มน  ามัน (Elaeis guineensis) จัดอยู่ในพืชตระกูลปาล์ม (Palmae หรือ Arecacea)
                       ตระกูลย่อยเดียวกับมะพร้าว ปาล์มน  ามันเป็นพืชยืนต้นใบเลี ยงเดี่ยวที่ผสมข้าม โดยสามารถให้ผลผลิต
                       ทะลายสดได้ตลอดปี การเก็บเกี่ยวทะลายปาล์มจะเริ่มจากปาล์มที่มีอายุได้ประมาณ 30 เดือนหลังจาก

                       ปลูก ซึ่งโดยปกติปาล์มจะให้ผลผลิตตั งแต่ 12 เดือนหลังปลูกแต่ช่วงแรกยังไม่มีการเก็บผลผลิต และ
                       สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตทะลายสดได้นานกว่า 20 ปี ซึ่งผลผลิตแต่ละช่วงจะต่างกันตามความสมบูรณ์และ
                       สภาพแวดล้อม ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน  ามัน มี 2 ปัจจัย คือ
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58