Page 55 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 55

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           44







                       ให้ผลผลิตปาล์มลดลง พื นที่ที่เหมาะสมส าหรับการปลูกปาล์ม ไม่ควรมีเดือนที่ขาดน  า ปริมาณน  าฝนน้อย
                       กว่า 100 มม.ต่อเดือน) หากในพื นที่มีการขาดน  าต่อเนื่องมากกว่า 4 เดือน (มีช่วงฤดูแล้งยาว) พื นที่
                       ดังกล่าวจะไม่เหมาะที่จะปลูกปาล์ม แต่สามารถแก้ไขได้โดยการติดตังระบบน  าให้กับปาล์ม แต่หากมี
                       สภาพการขาดน  าในรอบปีมาก ก็จะท้าให้จ้านวนทะลาย น  าหนักทะลาย และเปอร์เซ็นต์น  ามันลดลง

                       ปริมาณแสงแดดเป็นปัจจัยส าคัญเช่นเดียวกับปริมาณน  าฝน โดยปกติปาล์มน้ามันจะต้องได้รับแสงแดด
                       มากกว่า 5 ชั่วโมง/วัน (ได้รับพลังงานแสงไม่น้อยกว่า 17 MJ/ตารางเมตร/วัน) เนื่องจากแสงแดดเป็น
                       ปัจจัยส าคัญในการสังเคราะห์แสงของพืชทุกชนิด หากปาล์มน  ามันได้รับปริมาณแสงน้อยจะท้าให้มีการ
                       สร้างอาหารน้อย ซึ่งมีผลท้าให้การเจริญเติบโตลดลง และการสร้างดอกตัวเมียน้อยลงส่งผลให้ผลผลิต

                       ลดลง นอกจากนั นยังท้าให้สัดส่วนของผลต่อทะลายลดลง ซึ่งมีผลท้าให้ปริมาณน  ามันลดลงอีกด้วย
                       ส าหรับในประเทศไทยปริมาณของแสงเพียงพอส าหรับการเจริญเติบโตของปาล์มน  ามัน ความส าคัญของ
                       ปัจจัยของแสงจะแสดงผลให้เห็นชัดเจนเมื่อปลูกปาล์มไปแล้วมากกว่า 10 ปี โดยเฉพาะปาล์มที่ปลูกใน
                       ระยะชิดจะมีการบังแสงของทางใบซึ่งเกิดจากการซ้อนทับของทางใบระหว่างต้น ท้าให้เกิดการแข่งขันเพื่อ

                       แย่งปริมาณแสง และยังท าให้ต้นปาล์มสูงเร็วขึ นกว่าการปลูกในระยะที่ห่าง ดังนั นจ้าเป็นต้องมีการจัดการ
                       อย่างถูกต้องเหมาะสมเกี่ยวกับระยะปลูกและการตัดแต่งทางใบ เพื่อให้ปาล์มมีจ้านวนใบและมีพื นที่ใบที่
                       จะรับแสงได้เหมาะสม ตลอดอายุของการเจริญเติบโตของปาล์ม พบว่าในช่วงแรกของการเจริญเติบโตการ

                       ตัดแต่งทางใบไม่มีความจ้าเป็น เนื่องจากปาล์มยังได้รับแสงเพียงพอ แต่เมื่อปาล์มโตมากขึ นจ้าเป็นจะต้อง
                       ตัดแต่งทางใบมากขึ น เพื่อท้าให้มีพื นที่ใบรับแสงแดดได้อย่างพอเพียงโดยได้มีการศึกษาพบว่า ช่วงเดือนที่
                       มีกลางวันสันจะมีผลท้าให้สัดส่วนเพศ (อัตราของดอกตัวเมีย) ของปาล์มน  ามันลดลงอุณหภูมิมีผลต่อการ
                       เจริญเติบโตของปาล์มน้ามันเช่นเดียวกัน อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตควรจะอยู่ในช่วง 22-32
                       องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นช่วงอุณหภูมิปกติของเขตภูมิอากาศแบบร้อนชื นอุณหภูมิที่สูงขึ นจะมีผลกระทบกับ

                       ปาล์มน้อยกว่าอุณหภูมิที่ต่ า ในสภาพอุณหภูมิที่สูงจะมีผลกับการคายน  าของปาล์มเพราะท าให้ปาล์มขาด
                       น  า แต่ในสภาพอุณหภูมิต่ าจะมีผลต่อการเจริญเติบโตเนื่องจากปาล์มจะมีการพัฒนาของใบช้าลงท าให้มี
                       การสร้างทางใบน้อยกว่าปกติ มีการศึกษาพบว่าการเจริญเติบโตของกล้าปาล์มจะจ ากัดอย่างมากเมื่อ

                       อุณหภูมิต่ ากว่า 15 องศาเซลเซียส แต่เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ นเป็น 20 องศาเซลเซียส กล้าปาล์มจะ
                       เจริญเติบโตเพิ่มขึ นเป็น 3 เท่า และมีการเจริญเติบโตเพิ่มขึ นเป็น7 เท่า เมื่ออุณหภูมิสูงขึ นเป็น 25 องศา
                       เซลเซียส ในทางตรงกันข้ามสภาพอุณหภูมิที่ต่ ากว่า 15 องศาเซลเซียส จะท าให้ปาล์มมีอัตราการสร้างทาง
                       ใบและการพัฒนาของทะลายช้าลง ซึ่งมีผลท้าให้มีจ านวนทะลายน้อยลงความสูงจากระดับน  าทะเลก็มีผล

                       กับอุณหภูมิเช่นเดียวกัน (อุณหภูมิจะลดลงประมาณ0.6 องศาเซลเซียส เมื่อความสูงเพิ่มขึ นทุกๆ 100 เมตร)
                       มีรายงานว่าปาล์มที่ปลูกในบริเวณพื นที่ซึ่งอยู่สูงกว่าระดับน  าทะเลมากกว่า 500 เมตร จะให้ผลผลิตช้า
                       กว่าปาล์มที่ปลูกในพื นที่ซึ่งต่ ากว่าถึงหนึ่งปีความชื นสัมพัทธ์ของอากาศเนื่องจากปาล์มน  ามันเป็นพืชที่
                       เจริญได้ดีในสภาพร้อนชื น ความชื นสัมพัทธ์จะมีผลต่อการคายน  า หากมีความชื นสัมพัทธ์สูงจะมีอัตราการ

                       คายน  าลดลง นอกจากนั นความชื นสัมพัทธ์ยังมีผลต่ออายุของละอองเกสรและแมลงผสมเกสร โดยพบว่า
                       ในสภาพอากาศที่มีความชื นสัมพัทธ์น้อย (อากาศแห้ง) จะท าให้ละอองเกสรและแมลงผสมเกสรมีอายุสั น
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60