Page 56 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           45







                       ซึ่งมีผลให้อัตราการผสมเกสรลดลง ส่งผลให้การติดผลบนทะลายปาล์มน้อยลงและท้าให้น  าหนักทะลาย
                       ลดลงด้วย ปาล์มน  ามันเป็นพืชที่มีระบบรากเป็นรากฝอย ท้าให้ไม่ทนทานต่อกระแสลมที่พัดแรงประกอบ
                       กับปาล์มมีทรงพุ่มใหญ่ท้าให้ล้มได้ง่าย โดยเฉพาะการปลูกในพื นที่พรุ นอกจากนั นในพื นที่ซึ่งมีลมแรงก็จะ
                       ท าให้ใบปาล์มฉีกขาดหรือทางใบหัก ส่งผลให้อัตราการสังเคราะห์แสงลดลง ในสภาพพื นที่ซึ่งมีลมพัดโชย

                       อ่อนๆ โดยเฉพาะช่วงที่มีแดดจัดจะช่วยเสริมให้ปาล์มมีการหายใจได้ดีขึ น และเป็นการช่วยระบายความ
                       ร้อนแก่ใบปาล์มด้วย ความเร็วลมที่เหมาะสมไม่ควรมีความเร็วมากกว่า 10 เมตรต่อวินาที
                                      2.2) ช่วงเวลาปลูก
                                          การปลูกปาล์มน  ามันควรก าหนดเวลาให้ตรงกับช่วงฤดูฝน เพราะปัจจัยที่เป็น

                       ตัวก าหนดการอยู่รอด และเจริญเติบโตของต้นกล้าปาล์มน  ามันคือ ความชื นในดิน ฤดูฝนในภาคใต้ของ
                       ประเทศไทยจะเริ่มตั งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม แต่ฤดูปลูกที่เหมาะสม อยู่ในระหว่างเดือน
                       พฤษภาคม - มิถุนายน ซึ่งเป็นช่วงต้นฤดูฝนควรปลูกเมื่อตกแล้ว เพราะดินมีความชื นการปลูกในช่วงนี
                       ท าให้ต้นปาล์มน  ามัน ตั งตัวในแปลงได้ยาวนานก่อนถึงฤดูแล้ง ปาล์มน  ามันอายุ 1-3 ปี ตัดแต่งทางใบ

                       ออกเท่าที่จ าเป็น เช่น ทางใบที่แห้ง ทางใบที่เป็นโรคหรือแมลงท าลาย เป็นต้น ปาล์มน  ามันเริ่มเก็บ
                       เกี่ยวครั งแรกเมื่ออายุ 3 ปี ดังนั นในช่วงก่อน 3 ปี ควรตัดดอกชุดแรกทิ งเพื่อให้ล าต้นสะสม
                       คาร์โบไฮเดรตเพิ่มขึ น มีการเพิ่มปริมาณราก ซึ่งจะท าให้ทะลายที่ได้มีความสมบูรณ์และขนาดใหญ่ขึ น

                       เมื่อปาล์มน  ามันอายุ 4–7 ปี ควรเหลือทางใบประมาณ 3 รอบ นับจากทะลายล่างสุด อายุ 7–14 ปี
                       ควรเหลือทางใบประมาณ 2 รอบ นับจากทะลายล่างสุด และอายุ 12 ปีขึ นไป ควรเหลือทางใบ
                       ประมาณ 1 รอบ นับจากทะลายล่างสุด (ศูนย์วิจัยปาล์มน  ามันสุราษฎร์ธานี, ม.ป.ป.)
                                   3) การเปลี่ยนแปลงด้านชีพลักษณ์ของปาล์มน  ามัน
                                      ล าต้นของปาล์มน  ามันมีลักษณะตั งตรง ไม่มีกิ่งแขนง ประกอบด้วยข้อและปล้องที่ถี่

                       มาก แต่ละข้อมีหนึ่งท าใบเวียนรอบล าต้น โดยมีจ านวนใบ 8 ทางใบต่อรอบ การเวียนของทางใบมี 2
                       แบบ คือเวียนซ้ายและเวียนขวา (ภาพที่ 11) ในระยะที่ปาล์มอายุยังน้อย (น้อยกว่า 3 ปี) จะ
                       สังเกตเห็นทางใบอยู่ติดกับล าต้น มากกว่า 40 ทางใบ เมื่อปาล์มมีอายุมากขึ นและเริ่มมีการตัดแต่งทาง

                       ใบจะสังเกตเห็นฐานทางใบที่เป็นรอยตัดแต่งติดอยู่รอบๆล าต้น รอยแผลที่ฐานใบที่ติดกับล าต้นก็คือข้อ
                       ของล าต้น และส่วนที่อยู่ระหว่างข้อคือปล้อง ต้นปาล์มที่อายุมาก (มากกว่า 20 ปี) อาจมีความสูงถึง
                       15-18 เมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางล าต้น 30-50 เซ็นติเมตร โดยทั่วไปความสูงของต้นปาล์มจะเพิ่มขึ นปี
                       ละ 50 เซ็นติเมตร ซึ่งอัตราความสูงของล าต้นจะมากหรือน้อยขึ นอยู่กับพันธุ์ปาล์ม ระยะปลูกและการ

                       ตัดแต่งทางใบ โดยพบว่าปาล์มน  ามันที่ปลูกระยะที่ชิดมากๆ หรือมีการตัดทางใบมากเกินไปจะท าให้ล า
                       ต้นสูงเร็วกว่า (ตารางที่ 7) ใบของปาล์มน  ามันเป็นใบประกอบรูปขนนก (pinnate) ใบจะแบ่งออกเป็น
                       2 ส่วน คือ ส่วนแกนกลาง (Rachis) ที่มีใบย่อย (leaflets) อยู่ 2 ข้าง และส่วนก้านทางใบ (Petiole)
                       ซึ่งมีขนาดสั นกว่าส่วนแรก ไม่มีใบย่อย และมีหนามสั นๆ อยู่ 2 ข้าง ใบปาล์มที่มีอายุ 6-8 ปี แต่ละทาง

                       ใบจะมีใบย่อย100-160 คู่ ใบย่อยแต่ละใบยาว 80-120 เซ็นติเมตร กว้าง 4-6 เซ็นติเมตร หากสังเกต
                       ใบย่อยบนทางใบจะพบว่ามีใบชี ขึ นและใบชี ลง เรียงสลับกันตลอดทางใบ ใบจะพัฒนาจากบริเวณ
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61