Page 47 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           36







                                   1.3) กลุ่ม Spanish มี 2 พันธุ์/สายพันธุ์ คือ อินทรชิตแดง อินทรชิตขา พันธุ์สับปะรดกลุ่มนี
                       มีขนาดของต๎นและผลอยู่ระหว่างกลางของกลุ่ม Smooth cayenne และกลุ่ม Queen ขอบใบมีหนาม
                       แหลมรูปโค้งงอ ผลมีรูปร่างกลม น  าหนักผล 1.0-1.5 กิโลกรัม ตานูน ขนาดของตาใหญ่กว่า กลุ่ม
                       Smooth cayenne เนื อสีเหลืองจาง มีเยื่อใยมาก แกนผลเหนียว กลิ่นและ รสชาติแตกต่าง จาก 2 กลุ่มแรก

                       รสชาติเปรี ยว พันธุ์ที่ปลูกในประเทศไทยได้แก่ พันธุ์อินทรชิตแดง และพันธุ์อินทรชิตขาว ปัจจุบันมีการ
                       ปลูกน้อยมาก
                                   ในแถบภาคตะวันตกของประเทศสับปะรดปัตตาเวีย เป็นสับปะรดพันธุ์หนึ่งที่นิยมปลูกกัน
                       มาก  โดยเฉพาะในแถบอ าเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ซึ่งได้ชื่อว่า มีสภาพความเป็นกรด-ด่างสูง การปลูก

                       พืชทั่วไปไม่สามารถท าได้ แต่สามารถปลูกสับปะรดพันธุ์นี ได้และมีรสชาติพิเศษเฉพาะ ที่ผ่านมาเกษตรกร
                       ปลูกกันในลักษณะต่างคนต่างปลูก เน้นส่งโรงงาน จังหวัดราชบุรีเป็นแหล่งผลิตสับปะรดที่มีชื่อเสียงมา
                       นาน โดยเฉพาะสับปะรดที่ปลูกในพื นที่อ าเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ที่พบว่า เนื อมีสีเหลืองสวย มีกลิ่น
                       หอม รสชาติหวานฉ่ า ไม่กัดลิ น จึงเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคจานวนมากทั งในรูปของผลสดและจาหน่าย

                       ส่งโรงงานเพื่อแปรรูป สายพันธุ์สับปะรดที่เกษตรกรจังหวัดราชบุรี นิยมปลูกในพื นที่ ได้แก่ สายพันธุ์
                       ปัตตาเวีย ซึ่งในปี พ.ศ. 2560 พบว่า มีพื นที่เพาะปลูกสับปะรดโดยรวมประมาณ 58,723 ไร่ จากจ านวน
                       เกษตรกร 1,933 ครัวเรือน (ชฎาพร, 2561) กระจายอยู่ในเขตพื นที่อ าเภอปากท่อ อ าเภอจอมบึง อ าเภอ

                       สวนผึ ง และอ าเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี เนื่องจากมีลักษณะภูมิประเทศใกล้เคียงกันการผลิตสับปะรด
                       ของเกษตรกรปลูกแบบพืชเชิงเดี่ยว โดยผลิตสับปะรดร้อยละ 80 จะผลิตเพื่อจาหน่ายส่งโรงงานแปรรูป ที่
                       เหลือร้อยละ 20 ใช้ส าหรับการบริโภคผลสด (นภาลัย และคณะ, 2558)
                                 2) ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต่อการเจริญเติบโตของสับปะรด
                                   สับปะรดเป็นพืชที่สามารถปลูกได้ทุกพื นที่ แต่ปัจจัยสภาพแวดล้อมมีผลต่อการเจริญเติบโต

                       ผลผลิตและคุณภาพ โดยปัจจัยต่างๆ มีดังนี
                                   2.1) สภาพแวดล้อมทั่วไป
                                        สับปะรดสามารถปลูกได้ตั งแต่ที่ความสูงระดับน  าทะเลขึ นไปจนถึงระดับ 1,200 เมตร

                       แต่ถ้าจะปลูกเป็นการค้าควรอยู่ในระดับความสูงไม่เกิน 600 เมตร เพราะถ้าระดับพื นที่ยิ่งสูงขึ นจะท าให้
                       อุณหภูมิลดลงและมีผลต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของสับปะรด สับปะรดเป็นพืชที่ต้องการแสงแดด
                       ตลอดวันและพบว่า การลดปริมาณแสงแดดลง 20 เปอร์เซ็นต์ ท าให้ปริมาณผลผลิตลดลง 10 เปอร์เซ็นต์
                       อุณหภูมิที่เหมาะสมสาหรับการปลูกสับปะรดช่วง 24 - 30 องศาเซลเซียส สับปะรดจะหยุดชะงักเมื่อ

                       อุณหภูมิลดลงต่ ากว่า 20 องศาเซลเซียส ซึ่งแหล่งผลิตสับปะรดเป็นการค้าของโลกส่วนใหญ่จะอยู่ตามแนว
                       พื นที่ชายทะเลหรือมหาสมุทร หรือตามพื นที่เกาะต่างๆ เช่นในประเทศไทยมีแหล่งปลูกสับปะรดที่ส าคัญ
                       ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชลบุรี และ ระยอง เป็นต้น สับปะรดเป็นพืชที่ทนทานต่อความแห้ง
                       แล้งได้ดี แต่ถ้าปริมาณน  าฝนมีความสม่ าเสมอและกระจายตลอดปีจะทาให้สับปะรดมีการเจริญเติบโตดี การ

                       ขาดน  าอย่างรุนแรงมีผลต่อผลผลิต คือ จะทาให้ขนาดผลลดลง แหล่งปลูกสับปะรดที่ดีควรมีปริมาณน  าฝน
                       ระหว่าง 1,000 - 1,500 มิลลิเมตรต่อปี และมีการกระจายของฝนสม่ าเสมอ สับปะรดเป็นพืชที่ไม่เลือกชนิด
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52