Page 50 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           39































                                ภาพที่ 10 รอบการปลูกสับปะรด 5 ปี ไว้หน่อ 2 รุ่น เก็บเกี่ยวผลผลิต 3 ครั ง
                                ที่มา : สถาบันวิจัยพืชสวน (2560)

                           3.1.5 การศึกษาการเจริญเติบโตของยางพารา
                                 ยางพาราเป็นพืชที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทยอีกชนิดหนึ่ง  พบว่ามีเกษตรกร

                       ตลอดจนผู้ที่ท าธุรกิจเกี่ยวข้องกับยางพาราประมาณ 1 ล้านครอบครัว จ านวนไม่น้อยกว่า 6 ล้านคน
                       ประเทศไทยเป็นประเทศที่ส่งออกยางพาราและผลิตภัณฑ์ยางพาราเป็นอันดับ 1 ของโลก  นับตั งแต่ พ.ศ.
                       2534 เป็นต้นมา โดยใน พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมีการผลิตยางพารา จ านวน 3.16 ล้านตัน มีการส่งออก
                       จ านวน 2.73 ล้านตัน (ร้อยละ 86 ของผลผลิตทั งหมด) ผลิตเพื่อใช้ในประเทศ จ านวน 399,415 ตัน (ร้อย

                       ละ 12 ของผลผลิตทั งหมด) ซึ่งสามารถท ารายได้เข้าประเทศได้ปีละกว่า 400,000 ล้านบาท แต่การ
                       ส่งออกยางพาราส่วนใหญ่อยู่ในรูปวัตถุดิบแปรรูปขั นต้น ซึ่งมีมูลค่าเพิ่มต่ า เช่น ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง
                       และน  ายางข้น ท าให้มีผลต่อการสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศและการยกระดับรายได้ของเกษตรกรไม่มาก
                       เท่าที่ควร  และหากเรื่องนี ได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ น ก็จะส่งผลดีต่อประเทศและเกษตรกร

                       ชาวสวนยางพาราอย่างมหาศาล  ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของยางพารา มี 2 ปัจจัย คือ
                                 1) ปัจจัยทางด้านพันธุกรรมยางพารา
                                   สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ได้จัดท าค าแนะน าพันธุ์ยางแก่เกษตรกรทุก ๆ 4 ปี

                       โดยใช้ข้อมูลจากผลงานวิจัยการปรับปรุงพันธุ์ยาง เพื่อแนะน าพันธุ์ยางที่ให้ผลผลิตน  ายางสูงเป็นหลักตั งแต่
                       ปี 2504 เป็นต้นมา แต่เนื่องจากปัจจุบันไม้ยางพารามีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมไม้
                       ของประเทศ ท าให้เกษตรกรได้รับผลตอบแทนจากผลผลิตเนื อไม้เพิ่มขึ น ดังนั นค าแนะน าพันธุ์ยางปี 2546
                       สถาบันวิจัยยางจึงได้เปลี่ยนแปลงค าแนะน าจากเดิม โดยแบ่งพันธุ์ยางแนะน าเป็น 3 กลุ่ม คือ พันธุ์ยางที่
                       ให้ผลผลิตน  ายางสูง พันธุ์ยางที่ให้ผลผลิตน  ายางและเนื อไม้สูง และพันธุ์ยางที่ให้ผลผลิตเนื อ ไม้สูง เพื่อให้

                       เกษตรกรเลือกพันธุ์ได้ตามวัตถุประสงค์ของการปลูก พันธุ์ยางที่แนะน าให้ปลูก แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มตาม
                       วัตถุประสงค์ของการปลูก ได้แก่ กลุ่ม 1 พันธุ์ยางผลผลิตน  ายางสูง เป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตน  ายางสูงเป็นหลัก
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55