Page 54 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           43







                                   1) ปัจจัยทางด้านพันธุกรรมปาล์มน  ามัน
                                      พันธุ์ปาล์มน  ามันที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจ ในปัจจุบันแบ่งได้เป็น 3 ชนิด ซึ่ง
                       สามารถแยกความแตกต่างของพันธุ์เหล่านี  โดยพิจารณาความหนากะลาของผลปาล์มเป็นส าคัญ
                                      1.1) พันธุ์ดูรา (Dura) เป็นพันธุ์ที่มีกะลาหนาประมาณ 2 ถึง 8 มิลลิเมตร มีชั นเปลือก

                       นอกที่ให้น  ามัน (Mesocarp) ประมาณ 35 ถึง 60 เปอร์เซ็นต์ของน  าหนักผลปาล์ม พันธุ์ดูราเป็นพันธุ์ที่มี
                       กะลาหนามาก ๆ เรียกว่ามาโครคายา (Macrocarya) คือมีกะลาหนาประมาณ 6 ถึง 8 มิลลิเมตร และ
                       มักจะพบมากในแถบตะวันออกไกล เช่น พันธุ์เดลีดูรา (Deli Dura) ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตค่อนข้างสูง
                       ปัจจุบันพันธุ์ดูรามักใช้เป็นต้นแม่ส าหรับปรับปรุงพันธุ์เพื่อผลิตลูกผสมเป็นการค้า

                                      1.2) พันธุ์ฟิสิเฟอรา (Pisifera) เป็นพันธุ์ที่มีกะลาบางมาก หรือบางครั งไม่มีกะลา เมล็ด
                       ในและผลมีขนาดเล็ก ช่อดอกตัวเมียมักเป็นหมัน ผลผลิตแต่ละทะลายต่อต้นมีปริมาณต่ า จึงไม่เหมาะที่จะ
                       ปลูกเพื่อเป็นการค้าและนิยมใช้พันธุ์ฟิสิเฟอราเป็นต้นพ่อส าหรับผลิตพันธุ์ลูกผสม
                                      1.3.) พันธุ์เทเนอรา (Tenera) เป็นลูกผสมระหว่างพันธุ์แม่ดูราและพันธุ์พ่อฟิสิเฟอรา

                       เป็นพันธุ์ที่มีกะลาบาง ประมาณ 0.5 ถึง 4 มิลลิเมตร มีปริมาณของ Mesocarp 60 ถึง 90 เปอร์เซ็นต์ของ
                       น  าหนักผลผลผลิตต่อทะลายสูง ในปัจจุบันจึงนิยมปลูกเป็นการค้า
                                   2) ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน  ามัน

                                      2.1) สภาพแวดล้อมทั่วไป
                                      การปลูกปาล์มน  ามันได้รับผลส าเร็จ ต้องพิจารณาถึงสภาพภูมิอากาศและศักยภาพของ
                       พื นที่ในการปลูกให้เหมาะสม  โดยการตรวจสอบพื นที่ก่อนปลูกปาล์มน  ามันก่อน ปัจจัยของสภาพ
                       ภูมิอากาศที่จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน  ามัน มี 5 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ปริมาณแสง อุณหภูมิ
                       ความชื นสัมพัทธ์ และลมปริมาณน  าฝนและการกระจายตัวของฝน ปริมาณน  าฝนและการกระจายตัวของ

                       ฝน ถือว่าเป็นปัจจัยที่ส าคัญในการก าหนดการเจริญเติบโตของปาล์มน้ามัน เนื่องจากน้ามีความส าคัญใน
                       การเคลื่อนย้ายของธาตุอาหารโดยปกติปาล์มที่เจริญเติบโตเต็มที่จะมีการคายน  า 5-6 มิลลิเมตร/วัน หากมี
                       การขาดน  าจะท าให้มีการสร้างดอกตัวเมียน้อย ซึ่งมีผลท้าให้ผลผลิตอีก 19-22 เดือนข้างหน้าลดลง

                       ปริมาณน้าฝนที่เหมาะสมส าหรับปาล์มน ามันควรจะอยู่ระหว่าง 2,000-3,000 มม.ต่อปี และมีการกระจาย
                       ของฝนดีในแต่ละเดือนต้องมีปริมาณน้าฝนมากกว่า 100 มม. การกระจายของน้าฝนจะมีความส าคัญมาก
                       โดยเฉพาะพื นที่ซึ่งเป็นดินร่วนปนทราย เพราะดินดังกล่าวจะมีการเก็บความชื นได้น้อย จึงท าให้ปาล์มมี
                       โอกาสขาดน  าได้ง่าย ดังนั นการใช้วัชพืชคลุมดินก็จะเป็นอีกวิธี ที่จะช่วยรักษาความชื นไว้ในดินได้พื นที่ซึ่งมี

                       ปริมาณน้าฝนต่ ากว่า 1,200 มม.ต่อปี ปริมาณน  าฝนจะไม่เพียงพอส าหรับการเจริญเติบโตของปาล์มน  ามัน
                       ส่งผลให้ผลผลิตลดลง ในการรักษาระดับของผลผลิตของปาล์ม ที่ปลูกในพื นที่ซึ่งมีปริมาณน  าฝนและการ
                       กระจายของฝนน้อย อาจท าได้โดยการติดตั งระบบน  า ซึ่งจะช่วยรักษาระดับการให้ผลผลิตของปาล์ม
                       ในช่วงฤดูแล้งได้ แต่อย่างไรก็ตามการติดตั งระบบน  าจะเป็นการเพิ่มต้นทุนในการผลิตปาล์มน้ามัน ส าหรับ

                       ในพื นที่ซึ่งมีฝนตกมากเกินไป (มากกว่า 3,000 มม.ต่อปี) ก็ไม่เหมาะสมกับปาล์มน  ามันเช่นเดียวกัน
                       เนื่องจากการที่มีปริมาณฝนมากเกินไปก็จะท้าให้ปริมาณแสงน้อย จึงมีการสร้างอาหารได้น้อย ซึ่งมีผลท า
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59