Page 14 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 14
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
โรคทะลายเนา ทําลายผลปาลมกอนที่จะสุก ระบาดมากในฤดูฝน ที่มีความชื้นสูงทําใหเปอรเซ็นตกรดไขมัน
อิสระเพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพการใหน้ํามันนอยลงและโรคลําตนเนา พบมากกับตนปาลมน้ํามันที่มีอายุมาก
ปจจุบันพบระบาดมากกับตนปาลมอายุ 10-15 ป
แมลงศัตรูที่สําคัญ ไดแก หนอนหนาแมว ดวงกุหลาบ ดวงแรด
การปองกันกําจัดวัชพืช การควบคุมวัชพืชมีหลายวิธี เชน การใชแรงงาน การใชเครื่องจักรตัดวัชพืช
การใชวัสดุคลุมดิน โดยใชพืชตระกูลถั่ว และการใชสารกําจัดวัชพืช การปลูกแทนใหม
การเก็บเกี่ยว ตองเก็บเกี่ยวทะลายปาลมที่สุกพอดี หรือประมาณ 20-22 สัปดาห และสงโรงงานสกัด
น้ํามันภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อใหไดน้ํามันปาลมทั้งปริมาณและคุณภาพสูงตอไร ซึ่งการปฏิบัติที่ถูกตองและ
เหมาะสมจะทําใหไดน้ํามันปาลมที่มีคุณภาพดี
มีระบบควบคุมน้ําใหพอเพียงตลอดอายุการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามันมีระบบการใหน้ําที่เหมาะสม
เชนระบบน้ําหยด หรือระบบฉีดน้ําฝอย จะชวยเพิ่มความชื้นในดินใหเหมาะสมตลอดป
การปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน เชน ถั่วพุม ถั่วพรา ชวยรักษาความชื้นในดินและสับกลบเพิ่มธาตุ
อาหารใหแกพืชอีกดวย (ธีระและคณะ,2548)
ปุยชีวภาพ เปนวัสดุหรือสารที่ประกอบดวยจุลินทรียที่มีชีวิตเปนตัวดําเนินกิจกรรม ใหธาตุอาหาร
แกพืชหรือทําใหธาตุอาหารที่อยูในรูปที่พืชไมสามารถนํามาใชประโยชนได เปลี่ยนเปนรูปที่เปนประโยชน
ตอพืชไดเพิ่มขึ้น เชน ไรโซเบียมสรางปุยไนโตรเจนใหแกพืชตระกูลถั่ว จุลินทรียละลายฟอสเฟตชวยทําให
หินฟอสเฟตหรือฟอสเฟตที่ถูกยึดตรึงอยูในดินใหอยูในรูปที่พืชนําไปใชในการเจริญเติบโตไดเพิ่มขึ้น
(กรมวิชาการเกษตร, 2551) หรือเปนปุยที่ประกอบดวยจุลินทรียที่มีชีวิตที่มีคุณสมบัติพิเศษ สรางธาตุ
อาหารพืชไดเองหรือสามารถเปลี่ยนธาตุอาหารที่อยูในรูปที่ไมเปนประโยชนตอพืชใหมาอยูในรูปที่พืช
สามารถใชประโยชนได (ทัศนียและคณะ, 2550) หรือการนําจุลินทรียมาใชในการปรับปรุงดินทางชีวภาพ
ทางกายภาพ ทางชีวเคมีและการยอยสลายสารอินทรียวัตถุ พืช จากอินทรียหรือจากอนินทรียวัตถุ (มุกดา,
2545)
ปุยชีวภาพ พด.12 เปนปุยที่ไดจากการนําจุลินทรียที่มีชีวิตสรางอาหาร ธาตุอาหารหรือชวยใหธาตุ
อาหารเปนประโยชนกับพืชมาใชปรับปรุงดินทางชีวภาพ ทางกายภาพและทางชีวเคมี ทําใหดินมีความอุดม
สมบูรณเพิ่มมากขึ้นและสรางฮอรโมนสงเสริมการเจริญเติบโตของพืช ประกอบดวย จุลินทรียที่ใหธาตุ
ไนโตรเจน จุลินทรียที่ใหธาตุฟอสฟอรัส จุลินทรียที่ใหธาตุโพแทสเซียมและจุลินทรียที่ผลิตฮอรโมนและสาร
เสริมการเจริญเติบโต
จุลินทรียที่ใหธาตุไนโตรเจนมี 2 กลุมคือจุลินทรียที่อยูรวมกับพืชไดแกไรโซเบียมเปนจุลินทรียที่มี
ประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนสูงมากสามารถทดแทนไนโตรเจนจากปุยเคมีไดโดยใหกับพืชอาศัยมากกวา
50เปอรเซ็นต (กรมวิชาการเกษตร, 2548) และจุลินทรียที่อยูอยางอิสระไดแก Azotobecter
sp.,Azospirillum sp.และBacillus sp. เปนจุลินทรียที่สามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศและเปลี่ยนใหอยูในรูป
แอมโมเนียมที่เปนประโยชนตอพืชโดยกิจกรรมเอนไซมไนโตรจีเนส (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
จุลินทรียที่ใหธาตุฟอสฟอรัสมี 2 กลุมคือจุลินทรียที่ชวยดูดซับธาตุฟอสฟอรัสใหกับพืช ไดแก
ไมโครไรซาซึ่งเปนจุลินทรียที่อาศัยอยูในรากพืชแบบพึ่งพาซึ่งกันและกันมี 2 ชนิดคือ วี-เอไมโครไรซาและ
เอ็คโคไมโครไรซาเปนจุลินทรียที่ชวยเพิ่มพื้นที่ผิวรากและชอนไชเขาไปในดินไดสัมผัสกับธาตุฟอสฟอรัสและจะ
ดูดธาตุนี้โดยตรงแลวถายทอดตอไปยังรากพืชซึ่งจะชวยลดการใชปุยเคมีลงไดอยางนอย 25 เปอรเซ็นต
(กรมพัฒนาที่ดิน, 2551) นอกจากนี้เชื้อราไมโคไรซายังชวยปองกันไมใหธาตุฟอสฟอรัสที่ละลายออกมาถูกตรึง
โดยปฏิกิริยาทางเคมีของดินดวยเพราะเชื้อรานี้จะชวยดูดซับเก็บไวในโครงสรางพิเศษที่เรียกวา อาบัสกูลและ
เวสิเคิลที่อยูในเซลลพืช (มุกดา, 2545) จุลินทรียที่ละลายสารประกอบฟอสเฟต โดยทั่วไปประเทศไทยมี