Page 19 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          15

                                                    ผลการทดลองและวิจารณ

                                              การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน
                            จากตารางที่  1  พบวา  สมบัติทางเคมีของดินที่ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร มีคาความเปน
                  กรด-ดางของดิน (pH) ของดินกอนการทดลองเทากับ 3.40 หลังการทดลองคาความเปนกรด-ดางของดิน (pH)

                  ของดินมีคาเพิ่มสูงขึ้นในตํารับที่มีการใสปุยอินทรียเมื่อเปรียบเทียบกับตํารับที่ไมมีการใสปุยอินทรีย ซึ่งตํารับที่
                  9 (T9) ใส 1/2 ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดินรวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมตอตนมีคาความเปน
                  กรด-ดางของดิน (pH) ของดินมีคาเพิ่มสูงขึ้นเทากับ 5.30
                            ความตองการปูนของดินกอนการทดลอง พบวามีคาเทากับ 2,120 กิโลกรัมตอไร หลังการทดลอง
                  ความตองการปูนของดินในตํารับตํารับที่มีการใสปุยอินทรียจะมีปริมาณลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับตํารับที่ไมมี

                  การใสปุยอินทรีย ซึ่งตํารับที่ 6 (T6) ใส 1/2 ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดินรวมกับปุยอินทรียคุณภาพสูง อัตรา 15
                  กิโลกรัมตอตน และ ตํารับที่ 9 (T9) ใส 1/2 ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดินรวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15
                  กิโลกรัมตอตน มีความตองการปูนนอยที่สุด เทากับ 960 กิโลกรัมตอไร

                            ปริมาณอินทรียวัตถุของดินกอนการทดลอง พบวามีเทากับ 21.18 เปอรเซ็นต หลังการทดลอง
                  ปริมาณอินทรียวัตถุของดินเพิ่มขึ้นทุกตํารับ ยกเวนตํารับที่ใสเฉพาะปุยเคมี ซึ่งตํารับที่ 6 (T6) ใส 1/2 ปุยเคมี
                  ตามคาวิเคราะหดินรวมกับปุยอินทรียคุณภาพสูง อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน จะมีปริมาณอินทรียวัตถุของดิน
                  เพิ่มขึ้นมากที่สุดเทากับ 4.81 เปอรเซ็นต รองลงมาคือ ตํารับที่ 5 (T5) ใส 1/2 ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน

                  รวมกับปุยอินทรียคุณภาพสูง อัตรา 10 กิโลกรัมตอตน เทากับ 3.87 เปอรเซ็นต
                            ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดของดินกอนการทดลอง พบวามีคาเทากับ 0.11 เปอรเซ็นต หลังการ
                  ทดลองปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดของดินเพิ่มเล็กนอยในทุกตํารับ ยกเวนตํารับที่ 1 (T1) แปลงควบคุมมีปริมาณ
                  ลดลง ซึ่งปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดของดินหลังการทดลองจะอยูในชวง 0.16-0.28 เปอรเซ็นต

                            ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนกอนการทดลอง พบวา
                  มีคาเทากับ 1.67 และ 71.67 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ หลังการทดลองปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน
                  ประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกตํารับ ซึ่งตํารับที่ 2 (T2) วิธีเกษตรกร
                  มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนและปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนเพิ่มขึ้นมากที่สุดเทากับ 276.33

                  และ 370.00 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ
                            ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมกอนการทดลอง พบวามีคาเทากับ 0.32 และ 0.37 มิลลิกรัมตอ
                  กิโลกรัม ตามลําดับ หลังการทดลองปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกตํารับ ซึ่งตํารับที่

                  6 (T6) ใส 1/2 ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดินรวมกับปุยอินทรียคุณภาพสูง อัตรา 15 กิโลกรัมตอตน จะมีปริมาณ
                  ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมเพิ่มขึ้นมากที่สุดเทากับ 4.97 และ 4.00 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24