Page 11 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           7

                  เหมาะสมคือ pH 4.5-5.5 มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนมากกวา 20 มก./กก. มีโพแทสเซียมที่

                  แลกเปลี่ยนไดมากกวา 0.25 cmol/kg. มีแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนไดมากกวา 0.25 cmol/kg. (นิตยา,2547)
                  สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม ปาลมน้ํามันเจริญเติบโตไดดีในชวงอุณหภูมิ 20-30 องศาเซลเซียส และชอบ
                  บรรยากาศชุมชื้น โดยความชื้นสัมพัทธของอากาศเฉลี่ยรอบปไมต่ํากวา 75 % มีปริมาณน้ําฝนระหวาง 1,800-

                  3,000มม.ตอปมีการกระจายของฝนอยางสม่ําเสมอ แสงไมต่ํากวา 2,000 ชม.ตอปหรือ 5 ชม.ตอวัน (กรม
                  วิชาการเกษตร,2547)
                         ปจจัยที่มีอิทธิพลในการจํากัดผลผลิตปาลมน้ํามันมากที่สุด คือ ปริมาณและการกระจายของฝนซึ่ง
                  เกี่ยวของกับความชื้นในดิน การที่ปาลมน้ํามันไดรับปริมาณน้ําอยางเพียงพอและแพรกระจายอยางสม่ําเสมอ
                  จะชวยใหกระบวนการพัฒนาในดานการเจริญเติบโตและใหผลผลิตของตนปาลมน้ํามันเปนอยางปกติและ

                  สม่ําเสมอเชนกันคือ กระบวนการพัฒนาจากจุดกําเนิดตาดอก เปนตาดอก เปนดอกตัวเมีย เปนทะลายปาลม
                  น้ํามัน ไปจนถึงการสุกของผลเปนไปอยางตอเนื่อง ไมมีการหยุดพัก ซึ่งมีผลทําใหเกษตรกรมีผลผลิตทะลาย
                  ปาลมน้ํามันออกจําหนายไดตลอดทุกเดือนทั้งป (กรมสงเสริมการเกษตร,2542) ในกรณีที่พบชวงแลงหรือไมมี

                  ฝน ควรมีแหลงน้ําในพื้นที่ที่สามารถใหน้ําแกปาลมน้ํามันได ปาลมน้ํามันตองการน้ําเฉลี่ย 200 ลิตร/ตน/วัน ใน
                  พื้นที่ที่มีแหลงน้ําจํากัด ควรติดตั้งระบบน้ําแบบน้ําหยด สวนพื้นที่ที่มีน้ํามากเกินพอควรติดตั้งระบบน้ําแบบ
                  mini sprinkler (กรมวิชาการเกษตร,ไมระบุปพ.ศ.)
                         หลักการเขตกรรมที่สําคัญเพื่อใหไดผลผลิตปาลมน้ํามันสูงสุด คือ ถาปลูกในที่ราบตองมีรองระบายน้ํา

                  ทุกๆ 4 แถวปาลมที่ปลูก โดยขุดรองลึก 1 เมตร ปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน มีการคลุมดินบริเวณโคนตน
                         การปลูกปาลมน้ํามันเพื่อใหไดปริมาณและคุณภาพผลผลิตสูงนั้น นอกจากการจัดการดินและน้ํา
                  เหมาะสมแลว การจัดการพืชก็เปนสิ่งที่จําเปน ตั้งแตการเลือกกลา การปลูก ระยะปลูกและการจัดการดูแล
                  รักษาอยางตอเนื่อง เชนการเลือกตนสมบูรณแข็งแรง มีความสูงประมาณ 100-150 ซม.จากระดับดินในถุงและ

                  มีใบประกอบรูปขนนก อยางนอย 9 ใบสําหรับชวงฤดูการปลูกปาลมน้ํามันที่เหมาะสมคือปลูกในชวงฤดูฝน
                  หลังปลูกแลวควรมีฝนตกอยางนอยประมาณ 3 เดือนไมควรปลูกชวงปลายฤดูฝนตอเนื่องฤดูแลงจะพบปญหา
                  แลง ขาดน้ํา กลาไมเจริญเติบโตเทาที่ควร
                         การวางแนวปลูกและเตรียมหลุมปลูก เมื่อเตรียมพื้นที่ปลูกแลว ใหวางแนวปลูกใหสอดคลองกับความ

                  ลาดเทของพื้นที่และการระบายน้ํา เตรียมหลุมปลูกรูปตัวยู ขาด กวางxยาวxลึก 45x45x35 ซม.โดยใชระยะ
                  ปลูกที่เหมาะสม คือระยะระหวางตน 9 เมตร โดยปลูกเปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา ใหแถวปลูกหลักในแนว
                  เหนือ-ใต เพื่อใหปาลมน้ํามันทุกตนไดรับแสงแดดมากที่สุด และสม่ําเสมอเพื่อการสังเคราะหแสงของปาลม

                  จํานวนตนตอไร 22 ตน การปลูกถี่หรือหางเกินไป มีผลกระทบตอผลผลิต ผลผลิตลดลง
                         การปลูก หลังจากเตรียมหลุมปลูกเรียบรอยแลว ตากดินไวประมาณ 10 วัน ใสปุยหินฟอสเฟตรองกน
                  หลุมอัตรา 250 กรัมตอหลุม นํากลาปาลมน้ํามันมาปลูกแลวกลบดินใหแนน โคนตนกลาตองอยูในระดับ
                  เดียวกับดินเดิมของแปลงปลูก หลังจากปลูกแลว 1-2เดือนควรตรวจสอบความอยูรอดแลวปลูกซอมทันทีถามี
                  กลาตาย หลังจากปลูกแลวประมาณ 6-8 เดือนใหตรวจสอบตนปาลมที่มีลักษณะผิดปกติแลวทําการปลูกซอม

                  ทันทีและดูแลตอเนื่อง
                         การใหปุย ปาลมน้ํามันเปนพืชที่ตองการธาตุอาหารสูง ดังนั้นจําเปนตองประเมินความตองการธาตุ
                  อาหารของปาลมน้ํามันกอน เพื่อจะไดใสปุยชนิดและอัตราที่เหมาะสม  เปนการลดตนทุนการผลิต วิธีการ

                  ประเมินความตองการธาตุอาหารของปาลมน้ํามัน มี 2 วิธี คือพิจารณาจากลักษณะอาการที่มองเห็นที่ตนปาลม
                  ที่แสดงอาการขาดธาตุอาหาร และจากการวิเคราะหใบปาลมน้ํามัน ซึ่งเปนวิธีที่นิยมและแพรหลายในปจจุบัน
                         จากการวิเคราะหปริมาณการดูดใชธาตุอาหารของปาลมน้ํามันที่อายุตางๆตั้งแตปที่ 1-10 และปที่ 20
                  พบวาปาลมน้ํามันมีการดูดใชธาตุอาหารโพแทสเซียมมากที่สุด รองลงมาคือไนโตรเจน สําหรับฟอสฟอรัสและ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16