Page 9 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           5

                  เปนสวนของหนาดินมีธาตุอาหารพืชที่สําคัญต่ํามาก ปฏิกิริยาของดินเปนกรดจัดถึงจัดมาก คาความเปนกรด

                  เปนดาง 4.0-4.5 ดินชั้นลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย สีน้ําตาลปนเทามีจุดประสีเหลืองในระดับ
                  ความลึกตั้งแต 50-100 เซนติเมตร เปนดินเลนสีเทาปนน้ําเงิน ที่มีสารประกอบกํามะถัน การระบายน้ําเลวมาก
                  การไหลบาของน้ําบนผิวดินชา การซึมผานไดของน้ําชา มีน้ําทวมขังตลอดทั้งป (เจริญ, 2542)

                  การจัดการดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดมีหลายวิธีเชน การใชปูนทางการเกษตรเพื่อลดความเสียหายที่เกิดจาก
                  ความรุนแรงของกรด การใชปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียเพื่อการปรับปรุงธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและจุล
                  ธาตุ การจัดการหนาดินใหเหมาะสมลดการชะละลายและการกรอนของผิวหนาดินโดยการคลุมดินทั้งการใช
                  เศษซากพืช การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียนและการสรางสิ่งกีดขวางเพื่อลดความรุนแรงของ
                  กระแสน้ํา (นงคราญ, 2550) หรือการใชน้ําสะอาดลางหรือชะลางดินกรดจัด การขังน้ําหรือการใสปูน สําหรับ

                  การใชน้ําสะอาดลางหรือชะลางดินกรดจัดและการขังน้ําในทางปฏิบัติจะกระทําไดยากในไรนาและมีการลงทุน
                  ที่คอนขางสูงสวนวิธีการใสปูนในปจจุบันเปนวิธีที่เสียคาใชจายนอยกวาวิธีอื่น (อภิรดี, 2535) ดังนั้น การใสปูน
                  เปนวิธีหนึ่งในการปรับปรุงดินเพื่อเปนปจจัยที่สําคัญที่ชวยใหพืชมีการเจริญเติบโตไดดี โดยเฉพาะดินเปรี้ยว

                  หรือดินกรด ปูนที่ใชในการเกษตรกรรมมีหลายชนิด ไดแก ปูนขาว ปูนเปลือกหอยเผา ปูนมารล หินปูนบดหรือ
                  หินปูนฝุน และปูนโดโลไมท (บุญทอง, 2533)

                   ความลึก  อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความตัวเบส  ฟอสฟอรัสที่    โพแทสเซียมที่    ความอุดม
                    (ซม.)                   แคตไอออน                    เปนประโยชน  เปนประโยชน  สมบูรณของดิน

                    0-25     ปานกลาง         ปานกลาง           ต่ํา         ต่ํา          ต่ํา            ต่ํา
                   25-50        ต่ํา         ปานกลาง           ต่ํา         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง
                   50-100       ต่ํา         ปานกลาง           ต่ํา         ต่ํา          ต่ํา            ต่ํา
                   (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2548)

                        ขอจํากัดและปญหาการใชประโยชนที่ดิน ดินเปนกรดจัดมาก มีธาตุอะลูมินั่ม เหล็กและแมงกานีส
                  ละลายออกมามากจนเปนพิษ ธาตุฟอสฟอรัสถูกตรึงอยูในรูปที่พืชไมสามารถดูดไปใชประโยชนได ดินมี
                  โครงสรางดินแนนทึบและคุณภาพน้ําเปนกรดจัดและมีน้ําแชขังนาน (วุฒิชาติ, 2547)

                        ปาลมน้ํามัน (Oil plam) มีชื่อวิทยาศาสตร Elaeis guineensis จัดอยูในตระกูลปาลม (Palme หรือ
                  Arecaceae ) จัดเปนพืชผสมขาม ใบเลี้ยงเดี่ยว เปนพืชยืนตนที่สามารถใหผลผลิตทะลายสดไดตลอดป
                  (ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10, 2551) ปาลมน้ํามันมีหลายพันธุ พันธุที่ดี คือ พันธุปาลมน้ํามันลูกผสมเท
                  เนอรา (DxP) เปนพันธุลูกผสมที่ไดจากแมพันธุดูรา (Dura) กับพอพันธุฟสิเฟอรา (Pisiifera) โดยเฉพาะแมพันธุ
                  เดลิดูรา (Deli Dura) ซึ่งมีลักษณะเดน คือ มีความสามารถถายทอดลักษณะทางกรรมพันธุที่ดีสูลูกหลาน เชน

                  ใหผลผลิตทะลายปาลมสดสูงและสม่ําเสมอ องคประกอบของน้ํามันตอทะลายดี มีการเจริญเติบโตดีและ
                  แข็งแรง ซึ่งกรมวิชาการเกษตรไดทําการคัดเลือกปาลมน้ํามันพันธุดีและสงเสริมใหเกษตรกรนําไปปลูก ไดแก
                  พันธุลูกผสมสุราษฎรธานี 1 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 3,450 กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 897

                  กิโลกรัมตอไรตอป  น้ํามันตอทะลาย 26 เปอรเซ็นต พันธุลูกผสมสุราษฎรธานี 2 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย
                  3,617 กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 839 กิโลกรัมตอไรตอป  น้ํามันตอทะลาย 23 เปอรเซ็นต พันธุ
                  ลูกผสมสุราษฎรธานี 3 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 2,939 กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 779 กิโลกรัมตอ
                  ไรตอป น้ํามันตอทะลาย 27 เปอรเซ็นต พันธุลูกผสมสุราษฎรธานี 4 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 3,349 กิโลกรัม

                  ตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 831 กิโลกรัมตอไรตอป น้ํามันตอทะลาย 25 เปอรเซ็นต พันธุลูกผสมสุราษฎรธานี
                  5 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 3,054 กิโลกรัมตอไรตอป ผลผลิตน้ํามันดิบ 788 กิโลกรัมตอไรตอป  น้ํามันตอ
                  ทะลาย 26 เปอรเซ็นต และ พันธุลูกผสมสุราษฎรธานี 6 ใหผลผลิตทะลายสดเฉลี่ย 3,258 กิโลกรัมตอไรตอป
                  ผลผลิตน้ํามันดิบ 880 กิโลกรัมตอไรตอป  น้ํามันตอทะลาย 27 เปอรเซ็นต ปาลมน้ํามันแตละพันธุจะมีลักษณะ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14