Page 18 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
14
6. น้ําหมักชีวภาพ พด.2 อัตรา 200 ซีซีตอน้ํา 100 ลิตรราดลงดินทุกๆ 14 วันทุกตํารับการ
ทดลอง
7. ใสปูนตามคาความตองการปูน (LR) ปละครั้งในตํารับที่ 3-9
6. ดูแลรักษาตามความจําเปน
การเก็บขอมูล
เก็บขอมูลดิน ขอมูลพืช วิเคราะหสมบัติของดินกอนและหลังของการทดลอง
1. วิเคราะหสมบัติทางเคมีของดินที่ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร ประกอบดวย ปริมาณ
อินทรียวัตถุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม คา pH และความตองการปูน
2. เก็บตัวอยางใบปละครั้งหลังจากใสปุยแลวไมนอยกวา 3 เดือนโดยเลือกชวงเวลาที่เหมาะสมไม
ควรทําในฤดูฝนหรือฤดูแลง เก็บตัวอยางจากทางใบที่ 17 บริเวณกลางใบทั้ง 2 ขางๆละ 6 ใบ ตัดสวนปลายใบ
และโคนใบทิ้ง ลอกเสนกลางใบออก ทําความสะอาดโดยการเช็ดใบ สงวิเคราะหคาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม ทุกตํารับการทดลอง
3. บันทึกขอมูลผลผลิตปาลมน้ํามัน ประกอบดวยขนาดและน้ําหนักของทะลาย
สถิติที่ใชในการวิจัย
โดยใช Analysis of variance (ANOVA) เปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยวิธี Least significant difference
test (LSD) และใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS