Page 10 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           6

                  เดนตางกัน โดยเฉพาะพันธุลูกผสมสุราษฎรธานี 2 และสุราษฎรธานี 4  มีลักษณะเดน คือ การใหผลผลิตในแต

                  ละปสม่ําเสมอ แมวาสภาพแวดลอมไมเหมาะสม กานทะลายยาวเก็บเกี่ยวงาย มีเนื้อใน/ผล 10 และ 9
                  เปอรเซ็นต ตามลําดับ (กรมสงเสริมการเกษตร, 2552)
                        ลักษณะทางพฤกษศาสตรของปาลมน้ํามัน

                        ราก เกิดขึ้นตรงโคนของลําตนเปนระบบแขนง (Adventitious root system) มีระบบรากแบบรากฝอย
                  ประกอบดวยรากชุดตางๆประมาณ 4 ชุด ไดแก รากชุดที่ 1 เปนรากที่เจริญมาจากสวนฐานของลําตนมีขนาด
                  ใหญที่สุดแลวแตกยอยเปนรากชุดที่ 2 รากชุดที่ 3 และรากชุดที่ 4 ตามลําดับ (ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่
                  10, 2551) รากชุดที่ 3 จะไมมีรากขน รากชุดที่ 4 จะทําหนาที่ดูดน้ําและธาตุอาหาร ความหนาแนนของรากจะ
                  พบในรัศมีของพุมและลึกลงไปประมาณ 15 เซนติเมตร จากผิวดิน นอกจากนี้จะพบรากพิเศษคือรากอากาศ

                  ตรงบริเวณโคนตนทําหนาที่ถายเทอากาศระหวางรากกับบรรยากาศดวย (กรมสงเสริมการเกษตร, 2545)
                        ลําตน มีลักษณะตั้งตรง มีเนื้อเยื่อเจริญเฉพาะตรงปลายยอด ไมมีกิ่งแขนง ประกอบดวยขอและปลองที่ถี่
                  มาก แตละขอมีหนึ่งทาง ใบเวียนลําตน ทั้งทางดานซายและดานขวา โดยมีจํานวนใบ 8 ทางใบตอรอบ

                  โดยทั่วไปความสูงของตนปาลมจะเพิ่มขึ้นปละ 50 เซนติเมตร ซึ่งขึ้นอยูกับพันธุปาลม ระยะการปลูกหรือการ
                  ตัดแตงทางใบ
                        ใบ เปนใบประกอบรูปขนนก (pinnate) แตละใบแบงออกเปน 2 สวน คือสวนแกนกลาง (rachis) ที่มีใบ
                  ยอยอยู 2 ขางและสวนของกานทางใบซึ่งมีขนาดสั้นกวาสวนแรกและมีหนามสั้นๆอยู 2 ขางแตละทางใบมีใบ

                  ยอย 100-160 คู แตละใบยอยจะยาว 80-120 เซนติเมตร กวาง 4-6 เซนติเมตร ใบจะมีการพัฒนาจากบริเวณ
                  เนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดของลําตน
                         ชอดอก ปาลมน้ํามันเปนพืชสมบูรณเพศ โดยดอกเพศผูและดอกเพศเมียแยกชอดอกอยูในตนเดียวกัน
                  จะเริ่มออกดอกเมื่ออายุประมาณ 2-3 ปหลังจากปลูก ชอดอกเพศผู ประกอบดวยดอกยอย (Spikelet) มี

                  ลักษณะยาวเรียวคลายนิ้วมือ เรียงอยูบนแกนกลางชอดอก เวลาดอกบานจะเห็นเปนสีเหลืองออน กลิ่นหอม
                  ชอดอกเพศเมียเปนแบบ Spike ประกอบดวยชอดอกยอยเรียงเปนเกลียวบนแกนชอดอกใหญ เมื่อดอกพรอมที่
                  จะผสมจะเห็นยอดเกสรตัวเมียซึ่งมี 3 แฉก จะมีสีขาวหรือเหลืองออนแถบแดงเคลือบดวยเมือกเหนียวๆ เมื่อ
                  พนระยะนี้แลวจะเปลี่ยนเปนสีแดงและมวง ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมชอดอกจะพัฒนาเปนชอดอกเพศเมีย

                  เปนสวนใหญ การผสมมีลมและแมลงเปนพาหะโดยเฉพาะดวงปาลมน้ํามัน เปนแมลงที่สําคัญในการชวยผสม
                  เกสร
                         ผลและเมล็ด ผลปาลมน้ํามันไมมีกานผลเปนแบบ Sessile drup ประกอบดวยเปลือกชั้นนอก เปลือก

                  ชั้นกลางหรือกาบ ซึ่งเปนสวนที่มีน้ํามันอยูทั้ง 2 สวน เรียกรวมกันวา Pericarp และมีชั้นในสุดเปนกะลา ปาลม
                  น้ํามันที่ปลูกเปนการคาโดยทั่วไปพบวามีสีผิวที่เปลือกนอกอยู 3 ลักษณะ คือ 1.ผลดิบเปนสีเขียวเมื่อสุกเปนสี
                  สม เรียกวา Virescens 2.ผลดิบมีสีดํา ปลายผลมีสีงาชางเมื่อสุกมีสีแดง เรียกวา Nigrescens และ 2.สีผิวเมื่อ
                  สุกมีสีเหลืองซีด เรียกวา Albescens สําหรับเมล็ดประกอบดวยเนื้อในเมล็ดซึ่งมีน้ํามันอยูเชนกันและสวน
                  ของคัพภะ เมล็ดจะงอกเมื่อไดรับการกระตุนโดยอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสม

                         ทะลาย ประกอบดวยกานทะลาย ชอดอกทะลายยอย และผล ทะลายปาลมที่เหมาะสมควรมีน้ําหนัก
                  ทะลายระหวาง 15-25 กก.เนื่องจากจะเปนขนาดที่ใหสัดสวนของผลปาลมตอทะลายมากที่สุด ทําใหมี
                  เปอรเซ็นตน้ํามันสูงสุด หากขนาดทะลายใหญจะใหจํานวนทะลายนอย แตถามีทะลายมากจะใหทะลายที่มี

                  ขนาดเล็ก (ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10,2551)
                         สภาพแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับปลูกปาลมน้ํามัน
                         ลักษณะดินที่เหมาะสมสําหรับปลูกปาลมน้ํามันควรมีความอุดมสมบูรณถึงดี เปนดินรวนเหนียวถึงดิน
                  เหนียว มีการระบายน้ําดี มีความลึกของชั้นดินมากกวา 75 ซม. มีธาตุอาหารสูง ความเปนกรดเปนดางที่
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15