Page 13 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           9

                         ปาลมน้ํามันอายุ 2 ป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 3.5 กิโลกรัมตอตน ปุยฟอสฟอรัส

                  ในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 2.5 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียมคลอไรด
                  0.5 กิโลกรัมตอตน และโบเรท 60 กรัมตอตน
                         ปาลมน้ํามันอายุ 3 ป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน ปุยฟอสฟอรัสใน

                  รูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 3 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียมคลอไรด 1
                  กิโลกรัมตอตน และโบเรท 90 กรัมตอตน
                         ปาลมน้ํามันอายุ 4 ป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน ปุยฟอสฟอรัสใน
                  รูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 4 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียมคลอไรด 1
                  กิโลกรัมตอตน และโบเรท 100 กรัมตอตน

                         ปาลมน้ํามันอายุ 5 ป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมตอตน ปุยฟอสฟอรัสใน
                  รูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตน ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 4 กิโลกรัมตอตน แมกนีเซียมคลอไรด 1
                  กิโลกรัมตอตน และโบเรท 80 กรัมตอตน

                         ปาลมน้ํามันอายุ 6 ปขึ้นไป ใสปุยไนโตรเจน (แอมโมเนียมซัลเฟต) อัตรา 5 กิโลกรัมตอตนตอป ปุย
                  ฟอสฟอรัสในรูปหินฟอสเฟต อัตรา 3 กิโลกรัมตอตนตอป ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 4 กิโลกรัมตอตนตอป
                  แมกนีเซียมคลอไรด 1 กิโลกรัมตอตนตอป และโบเรท 80 กรัมตอตนตอป
                         อยางไรก็ตาม อัตราปุยที่ใสนั้นจะขึ้นอยูกับปริมาณธาตุอาหารตางๆในดินดวย โดยทําการวิเคราะหดิน

                  กอนปลูกเพื่อหาปริมาณธาตุอาหารในดิน ทราบปริมาณธาตุอาหารที่ปาลมน้ํามันตองการก็สามารถคํานวณหา
                  ปริมาณปุยที่จะใสไดในอัตราที่เหมาะสม
                         สําหรับวิธีการและระยะเวลาในการใสปุยนั้น ปาลมน้ํามันที่มีอายุ 1 ป หวานสม่ําเสมอภายในบริเวณ
                  รัศมีใกลเคียงกับทรงพุม โดยในปแรกแบงใส 4-5 ครั้ง/ป ตั้งแตปที่ 2-3 แบงใส 3 ครั้ง/ป ในชวงตนฝน กลาง

                  ฝน และปลายฝน แตปาลมน้ํามันที่มีอายุ 5 ปขึ้นไป หวานปุยสม่ําเสมอบริเวณหางจากโคนตน 50 ซม.จนถึง
                  รัศมีรอบทรงพุม แบงใส 2 ครั้ง คือชวงตนฝนและปลายฝน (ธีระและคณะ,2546)
                         การปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน ชวยเพิ่มไนโตรเจนใหแกดิน 30-40 กก./ไร/ป ชวยลดการใชปุยเคมีและ
                  ลดตนทุนการผลิตดวย การนําทางใบมากองไวระหวางแถวปลูกทุกป เปนการเพิ่มอินทรียวัตถุและไนโตรเจนอีก

                  วิธีหนึ่ง
                         การใหน้ํา ปาลมน้ํามันเปนพืชที่ตองการน้ํามากและสม่ําเสมอตลอดชวงการเจริญเติบโต ในสภาพพื้นที่
                  ที่แหงแลงยาวนาน ถามีแหลงน้ําเพียงพอควรมีการใหน้ําเสริมในฤดูแลง ในปริมาณ 150-200 ลิตรตอตนตอวัน

                         การดูแลรักษา
                         1.ตัดแตงทางใบ ตั้งแตเริ่มปลูกจนถึงปที่ 6 ควรไวทางใบ 7-8 รอบ (56-64 ทางใบ) ตนที่โตเต็มที่ควร
                  ไวทางใบ 4.5-6.5 รอบ (36-48 ทางใบ) ไมควรตัดแตงทางใบจนกวาจะถึงชวงการเก็บเกี่ยวผลผลิต ควรตัดทาง
                  ใบใหเหลือรองรับทะลายปาลมน้ํามัน 2 ทาง (ชั้นลางจากทะลาย) และทางใบที่ตัดแลว ควรนํามาเรียงกระจาย
                  แถวเวนแถว และวางสลับแถวกันทุกๆ 4-5 ป เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุใหกระจายทั่วแปลง การใชทะลายเปลาคลุม

                  ดิน ทะลายเปลาที่นํามาจากโรงงาน ควรนํามากองทิ้งไวประมาณ 1 เดือน แลวจึงนําไปวางกระจายไวรอบโคน
                  ตนโดยใสทะลายเปลา อัตรา 150-225 กิโลกรัมตอตนตอป
                         2.ศัตรูของปาลมน้ํามันและการปองกันกําจัด

                         โรคที่สําคัญ ไดแก โรคใบไหมในระยะตนกลา หากรุนแรงทําใหตนกลาถึงตายได โรคกานทางใบบิด
                  พบในตนปาลมที่มีอายุ 1-3 ป หลังจากนําลงปลูกในแปลง มีผลทําใหการเจริญเติบโตของตนปาลมน้ํามัน
                  หยุดชะงัก โรคยอดเนาระบาดมากในฤดูฝนเขาทําลายตนปาลมน้ํามันตั้งแตในระยะกลา แตสวนใหญมักจะพบ
                  โรคนี้กับตนปาลมน้ํามันอายุ 1-3 ป ทําใหใบยอดทั้งใบเนาแหงเปนสีน้ําตาลแดง สามารถดึงหลุดออกมาไดงาย
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18