Page 16 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          12

                         การผลิตปุยอินทรียคุณภาพสูง สูตรฟอสฟอรัส (สํานักเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน กรมพัฒนาที่ดิน,

                  2556)
                         ผลิตจากหินฟอสเฟตซึ่งมีปริมาณฟอสฟอรัสสูงแตสวนใหญอยูในรูปที่ไมเปนประโยชนตอพืช หมักกับ
                  ปุยหมัก รําขาว เพื่อชวยในการดูดซับความชื้น และปรับลักษณะวัสดุหมักใหเหมาะสมและใชสารเรงซุปเปอร

                  พด.9 ซึ่งเปนจุลินทรียที่ละลายหินฟอสเฟตใหอยูในรูปฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืช
                         สวนผสมที่ใชในการผลิต (สูตรฟอสฟอรัส) ปริมาณ 100 กิโลกรัม
                         1 หินฟอสเฟต                  80 กิโลกรัม
                         2 รําขาว                    10 กิโลกรัม
                         3 ปุยหมัก                   10 กิโลกรัม

                         4 สารเรงซุปเปอร พด.9       1   ซอง
                         ขั้นตอนการผลิตปุยอินทรียคุณภาพสูง สูตรฟอสฟอรัส
                         1. ผสมหินฟอสเฟต รําขาวและปุยหมัก ตามสัดสวนใหเขากัน

                         2. นําสารเรงซุปเปอร พด.9 จํานวน 1 ซอง เทลงในน้ํา 20 ลิตร คนประมาณ 5-10 นาที นําไปรดบน
                  กองวัสดุในขอ 1. คลุกเคลาใหทั่วกองเพื่อปรับความชื้นใหสม่ําเสมอทั่วกอง
                         3. ตั้งกองปุยหมักเปนสี่เหลี่ยมผืนผา ใหมีความสูงประมาณ 30-50 เซนติเมตร แลวใชวัสดุคลุมกองให
                  มิดชิดเพื่อรักษาความชื้น

                         4. หมักกองปุยเปนเวลา 4-5 วัน จึงนําไปใชได
                         ประโยชนของปุยอินทรียคุณภาพสูง
                         1. เปนปุยอินทรียที่มีธาตุอาหารพืชสูง
                         2. เปนแหลงธาตุอาหารรองและจุลธาตุแกพืช

                         3. มีจุลินทรียที่เปนประโยชนตอดินและพืช
                         4. การปลดปลอยธาตุอาหารใหแกพืชแบบชาๆทําใหลดการสูญเสียธาตุอาหาร
                         5. เปนทางเลือกใหกับเกษตรกรในการทดแทนหรือลดการใชปุยเคมี
                         6. เกษตรกรสามารถผลิตใชเองได (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)

                         ปูนโดโลไมท [CaMg(CO3)2] เปนแรเกิดจากตะกอนของแคลเซียมและแมกนีเซียมทับถมกัน มีสีตางๆ
                  เชน เทา ชมพู ขาว มีลักษณะคลายแรคัลไซต โดยทั่วไปปูนโดโลไมทเปนแรที่เกิดจากการปะปนมากับหินปูน
                  ประเภท dolomitic limestone หินโดโลไมทบดใชเปนวัสดุปูนไดดีและนอกจากจะชวยยกระดับ pH ของดิน

                  ไดแลวยังเพิ่มความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชพวกไนโตรเจน ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม ซิลิกา
                  และโมลิบดินัม ชวยเพิ่มและสงเสริมกิจกรรมของจุลินทรียดินที่เปนประโยชนตอพืช ชวยลดการเกิดโรครากเนา
                  โคนเนาของพืชและควบคุมปริมาณกรดอินทรีย กาซคารบอนไดออกไซด ความเขมขนของเหล็ก อะลูมินัม
                  ตลอดจนสารพิษตางๆ เชน    ไพไรตและไฮโดรเจนซัลไฟดในสารละลายดิน มิใหมีการสะสมมากเกินไปจนเปน
                  พิษ มีคา CCE อยูระหวาง 60-100 เปอรเซ็นต และปูนโดโลไมตที่ใชในการปรับปรุงดินควรมีคา CCE ไมต่ํากวา

                  90เปอรเซ็นต (เจริญและรสมาลิน, 2542)



                                                 ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินการ

                  ระยะเวลาทําการวิจัย  เริ่มตน  เดือนตุลาคม       พ.ศ. 2560
                                        สิ้นสุด  เดือนกันยายน      พ.ศ. 2563
                  สถานที่ดําเนินการ     หมู 2 ตําบลปากพะยูน อําเภอปากพะยูน  จังหวัดพัทลุง
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21